ผลกระทบของการเติมแคลเซียมออกไซด์อิสระในเถ้าลอยต่อความสามารถในการเก็บกักคลอไรด์ ของเพสต์ผสมเถ้าลอยและผงหินปูน
คำสำคัญ:
แคลเซียมออกไซด์อิสระ, เถ้าลอย, ผงหินปูน, คลอไรด์บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลกระทบของแคลเซียมออกไซด์อิสระ (free CaO) ในเถ้าลอยต่อความสามารถในการเก็บกักคลอไรด์
ของเพสต์ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภทที่ 1 (OPC) แทนที่ด้วยเถ้าลอยและผงหินปูน โดยนำเถ้าลอยตั้งต้นมาเติมแคลเซียมออกไซด์เพื่อให้ free CaO ในเถ้าลอยมีปริมาณต่างกัน ผลการศึกษาพบว่าการแทนที่ OPC ด้วย
ผงหินปูนร้อยละ 10 ทำให้ปริมาณคลอไรด์ทั้งหมดในเพสต์มีค่าน้อยลง
แต่ความสามารถในการเก็บกักคลอไรด์กลับมีค่ามากขึ้นเมื่อเปรียบเทียบ
กับของเพสต์ OPC ล้วน ส่วนเพสต์การแทนที่ OPC ด้วยเถ้าลอยร้อยละ 30 นั้น มีปริมาณคลอไรด์ทั้งหมดและอัตราส่วนความสามารถในการเก็บกัก
คลอไรด์ใกล้เคียงกับของเพสต์ OPC ล้วน นอกจากนี้เพสต์การแทนที่ OPC ด้วยเถ้าลอยร้อยละ 20 ร่วมกับผงหินปูนร้อยละ 10 ให้ค่าปริมาณคลอไรด์ทั้งหมดใกล้เคียงกัน แต่อัตราส่วนความสามารถในการเก็บกักคลอไรด์
มีแนวโน้มที่น้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับของเพสต์ OPC ล้วน สุดท้ายปริมาณ free CaO ในเถ้าลอยที่ต่างกันไม่มีผลต่อปริมาณคลอไรด์ทั้งหมดและความสามารถในการเก็บกักคลอไรด์ของเพสต์
##plugins.generic.usageStats.downloads##
เอกสารอ้างอิง
[2] T. Sumranwanich, (2004). Chloride Binding Capacity of Cement – Fly Ash Past and Simulation of Chloride Profile in Concrete. Ph.D. Thesis, Civil Engineering, School of Civil Engineering and Technology, Sirindhorn International Institute of Technology, Thailand.
http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:114613
[3] P. Supattatum, B. Chatveera and S. Tangtermsirikul, S. (2000). Chloride Binding Capacity of Cement - Fly Ash Past. Journal of The Engineering Institute of Thailand, 4, pp. 62-66.
[4] S. Plang-ngern and S. Tangtermsirikul, (2000). Chloride Binding Capacity in Fly Ash Concrete. Journal of The Engineering Institute of Thailand, 2, pp. 1-8.
https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/eit-researchjournal/article/view/179816/127674
[5] P. Chindaprasirt, (2000). Fly ash in concrete (The updated edition). Thailand Concrete Assocoation.
[6] Tarun R. Naik, Shiw S. Singh, Mohammad M. Hossain, (1995). Properties of high performance concrete systems incorporating large amounts of high-lime fly ash. Construction and Building Materials Journal, 9, pp. 203.
https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/0950061895000095?via%3Dihub
[7] N. Voglis, G. Kakali, E. Chaniotakis and S. Tsivilis, (2005). Portland-Limestone cement their properties and hydration compared to those of other composite cements. Cement & Concrete Composites Journal, 27, pp. 191–196.
https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S0958946504000216
[8] P. Chalattunyakij, P. Krammart, K. Kaewmane, S. Tangtermsirikul, (2012). Effect of Addition of Free Lime in Fly Ash on Expansion and Weight Loss in Sulfate Solution of Mortar with Fly Ash and Limestone Powder. Journal of industrial technology, 8, pp. 37-48.
http://j.cit.kmutnb.ac.th/en/paper-view/130
[9] B. Bissonnette, P. Pierre and M. Pigeon, (1999). Influence of Key Parameters on Drying Shrinkage of Cementitious Materials. Cement & Concrete Research, 29, pp. 1661.
https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S0008884699001568
[10] T. Sinsiri, (2005). Effect of Particle Size and Shape of Fly Ash on Pore Structure and Permeability of Blended Cement Paste. Ph.D. Thesis, Civil Engineering, King Mongkut’s University of Technology Thonburi, Thailand.
http://eng.sut.ac.th/ce/ccbm/paper/doctor/theerawat/abstract.pdf
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
บทความทั้งหมดที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 นี้ เป็นลิขสิทธิ์ของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์