การศึกษาเปรียบเทียบการใช้เอฟจีดียิปซั่มและแคลเซียมซัลเฟตต่อสมบัติเชิงกลและการหดตัวแห้ง ของวัสดุอัลคาไลมอร์ต้าร์จากเถ้าลอยแคลเซียมสูง

  • สกลวรรณ ห่านจิตสุวรรณ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโยธา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎลำปาง
  • บวรรัก อินทร์จอหอ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา
  • ขัตติย ชมพูวงศ์ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา
  • ชุดาภัค เดชพันธ์ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา
  • ศตคุณ เดชพันธ์ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา
  • ธนากร ภูเงินขำ หน่วยวิจัยเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้างอย่างยั่งยืน สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จ.นครราชสีมา
คำสำคัญ: วัสดุอัลคาไลจากเถ้าลอยแคลเซียมสูง, เอฟจีดียิปซั่ม, แคลเซียมซัลเฟต, สมบัติเชิงกล, การหดตัวแห้ง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้ศึกษาการเปรียบเทียบผลของเอฟจีดียิปซั่มและแคลเซียมซัลเฟตต่อสมบัติเชิงกลและการหดตัวแห้งของวัสดุอัคลาไลมอร์ต้าร์จากเถ้าลอยแคลเซียมสูง โดยเถ้าลอยแคลเซียมสูงถูกแทนที่ด้วยเอฟจีดียิปซั่ม ร้อยละ 5 และแคลเซียมซัลเฟตร้อยละ 2.5 โดยน้ำหนักของวัสดุประสาน ปริมาณการแทนที่ของเอฟจีดียิปซั่มและแคลเซียมซัลเฟตที่เลือกใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นปริมาณการแทนที่จากการศึกษาในงานวิจัยก่อนหน้าที่ทำให้ได้ค่าการหดตัวของวัสดุอัคลาไลเพสต์จากเถ้าลอยแคลเซียมสูงมีค่าต่ำที่สุด สารละลายโซเดียมซิลิเกตและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ความเข้มข้นเท่ากับ 10 โมลาร์ เป็นสารละลายด่างในส่วนผสม ผลการทดสอบ พบว่าการแทนที่ด้วยเอฟจีดียิปซั่ม และแคลเซียมซัลเฟตในเถ้าลอย ส่งผลต่อสมบัติของวัสดุอัคลาไลมอร์ต้าร์จากเถ้าลอยแคลเซียมสูง โดยการแทนที่ด้วยเอฟจีดียิปซั่มและแคลเซียมซัลเฟตในเถ้าลอยส่งผลทำให้ค่าระยะเวลาการก่อตัวลดลง แต่อย่างไรก็ตามยังช่วยพัฒนากำลังรับแรงอัดของวัสดุอัลคาไล สำหรับค่ากำลังรับแรงอัดและค่ากำลังรับแรงดัดของสดุอัคลาไลมอร์ต้าร์จากเถ้าลอยแคลเซียมสูงที่อายุปลายในกรณีที่มีการแทนที่ด้วยแคลเซียมซัลเฟตมีค่าลดลง สำหรับการใช้เอฟจีดียิปซั่มและแคลเซียมซัลเฟตในวัสดุอัคลาไลมอร์ต้าร์จากเถ้าลอยแคลเซียมสูงส่งผลทำให้ค่าการหดตัวแห้งลดลงเมื่อเทียบกับส่วนผสมควบคุม

จำนวนการดาวน์โหลด

ยังไม่มีข้อมูลการดาวน์โหลด

รายการอ้างอิง

[1] Davidovits, J. (1991). Geopolymers - Inorganic polymeric new materials. Journal of Thermal Analysis, 37(8): 1633-1656.
[2] Allahverdi, A., Kani, E.N. and Yazdanipour, M., (2011). Effects of blast-furnace slag on natural pozzolan-based geopolymer cement. Ceramics-Silikaty, 55(1) : 68-78.
[3] Guo, X., Shi, H., Chen, L. and Dick, W., (2010). Alkali-activated complex binders from class C fly ash and Ca-containing admixtures. Journal of Hazardous Materials, 173(1-3), pp. 480-486.
[4] Garcia-Lodeiro, I, Palomo, A. Fernandez-Jimenez, A. and MacPhee DE, 2011. Compatibility studies between N-A-S-H and C-A-S-H gels. Study in the ternary diagram Na2O-CaO-Al2O3-SiO2-H2O. Cement and Concrete Research, 41(9), pp. 923-931.
[5] Ridtirud, C., Chindaprasirt, P., Pimraksa, K. (2011). Factors affecting the shrinkage of fly ash geopolymers. International Journal of Minerals, Metallurgy, and Materials. 18(1), pp. 100-104.
[6] Punurai, W., Kroehong, W., Saptamongkol, A., Chindaprasirt, P. (2018). Mechanical properties, microstructure and drying shrinkage of hybrid fly ash-basalt fiber geopolymer paste. Construction and Building Materials. 186, pp. 62-70.
[7] Fernández-Jiménez, A., Palomo, A., Criado, M. (2005). Microstructure development of alkali-activated fly ash cement: a descriptive model. Cement and Concrete Research. 35(6), pp. 1204-1209.
[8] Matalkah F, Salem T, Shaafaey M, Soroushian P. Drying shrinkage of alkali activated binders cured at room temperature. Construction and Building Materials. 2019;201:563-70.
[9] สกลวรรณ ห่านจิตสุวรรณ์, บวรรัก อินทร์จอหอ, ณัฐวัฒน์ เสาะสูงเนิน, ธนิศร เสาะสูงเนิน, ภัทรพล จัลวรรณ, อัครพล วะชุม, ฉัตรทริกา เพียงพิมาย และธนากร ภูเงินขำ (2563). ผลของสารผสมเพิ่มที่ขยายตัวต่อระยะเวลาก่อตัวและกำลังรับแรงอัดของวัสดุอัลคาไลจากเถ้าลอยแคลเซียมสูง. การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำปี ครั้งที่ 15, 25-27 มีนาคม 2563, หน้า 216-220.
[10] ASTM C1437. (2015). Standard test method for flow of hydraulic cement mortar. Annual Book of ASTM Standard. Vol.04.01.
[11] ASTM C191. (2002). Standard test method for time of setting of hydraulic cement by Vicat needle. Annual Book of ASTM Standard. Vol.04.01.
[12] ASTM C109. (2002). Standard test method of compressive strength of hydraulic cement mortars. Annual Book of ASTM Standard. Vol.04.01.
[13] ASTM C78. (2018). Standard test method for flexural strength of concrete. Annual Book of ASTM Standard. Vol.04.01.
[14] ASTM C490. (2017). Standard practice for use of apparatus for the determination of length change of hardened cement paste, mortar, and concrete. Annual Book of ASTM Standard. Vol.04.01.
[15] ASTM C596. (2018). Standard test method for drying shrinkage of mortar containing hydraulic cement. Annual Book of ASTM Standard. Vol.04.01.
[16] กนกวรรณ ปันเขต และอุบลลักษณ์ รัตนศักดิ์, (2553). ผลของสารผสมเพิ่มต่อสมบัติของจีโอโพลิเมอร์จากเถ้าลอย. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 33ม ฉบับที่ 2, หน้า 121-132.
[17] Pangdaeng, S., Phoo-ngernkham, T., Sata, V., Chindaprasirt, P. (2014). Influence of curing conditions on properties of high calcium fly ash geopolymer containing Portland cement as additive. Materials & Design,. 53, pp. 269-274.
[18] Hanjitsuwan, S., Phoo-ngernkham, T., Damrongwiriyanupap, N. (2017). Comparative Study using Portland cement and Calcium Carbide Residue as a Promoter in Bottom Ash Geopolymer Mortar. Construction and Building Materials, 133, pp. 128-134.
[19] Phoo-ngernkham, T., Phiangphimai, C., Intarabut, D., Hanjitsuwan, S., Damrongwiriyanupap, N., Li, L.Y., (2020). Low cost and sustainable repair material made from alkali-activated high-calcium fly ash with calcium carbide residue. Construction and Building Materials. 247, pp. 118543.
[20] Phoo-ngernkham, T., Chindaprasirt, P., Sata, V., Pangdaeng, S., Sinsiri, T. (2013). Properteis of high calcium fly ash geopolymer pastes containing Portland cement as additive. International Journal of Minerals, metallurgy and Materials, 20(2), pp. 214-220.
[21] Phoo-ngernkham, T., Hanjitsuwan, S., Damrongwiriyanupap, N., Chindaprasirt, P. (2017). Effect of sodium hydroxide and sodium silicate solutions on strengths of alkali activated high calcium fly ash containing Portland cement. KSCE Journal of Civil Engineering, 21(6), pp. 2202-2010.
[22] Phoo-ngernkham, T., Maegawa, A., Mishima, N., Hatanaka, S., Chindaprasirt, P. (2015). Effects of sodium hydroxide and sodium silicate solutions on compressive and shear bond strengths of FA–GBFS geopolymer. Construction and Building Materials, 91, pp. 1-8.
[23] Phoo-ngernkham, T., Sata, V., Hanjitsuwan, S., Ridtirud, C., Hatanaka, S., Chindaprasirt, P. (2016). Compressive strength, bending and fracture characteristics of high calcium fly ash geopolymer mortar containing Portland cement cured at ambient temperature. Arabian Journal for Science and Engineering, 41(4), pp. 1263-71.
[24] Boonserm, K., Sata, V., Pimraksa, K., Chindaprasirt, P., (2012). Improved geopolymerization of bottom ash by incorporating fly ash using waste gypsum as additive. Cement & Concrete Composites, 34, pp. 819-824.
[25] Chindaprasirt, P., Thaiwitcharoen, S., Kawprion, S., Rattanasak, U. (2013). Controlling ettringite formation in FBC fly ash geopolymer concrete. Cement and Concrete Composites, 41, pp. 24-28.
เผยแพร่แล้ว
2020-07-07
How to Cite
[1]
ห่านจิตสุวรรณ์ส., อินทร์จอหอบ., ชมพูวงศ์ข., เดชพันธ์ช., เดชพันธ์ศ. และ ภูเงินขำธ. 2020. การศึกษาเปรียบเทียบการใช้เอฟจีดียิปซั่มและแคลเซียมซัลเฟตต่อสมบัติเชิงกลและการหดตัวแห้ง ของวัสดุอัลคาไลมอร์ต้าร์จากเถ้าลอยแคลเซียมสูง. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25. 25, (ก.ค. 2020), MAT28.