การต้านทานคลอไรด์ของเหล็กเสริมเมื่อเคลือบด้วยไฮบริดอัลคาไลผง

ผู้แต่ง

  • ฉัตรฑริกา เพียงพิมาย สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • กรกนก จอยนอก สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • ขัตติย ชมพูวงศ์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • ชุดาภัค เดชพันธ์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • ศตคุณ เดชพันธ์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
  • ณัฐพงศ์ ดำรงวิริยะนุภาพ สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จ.พะเยา
  • ธนากร ภูเงินขำ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คำสำคัญ:

ไฮบริดอัลคาไลผง, ผงจีโอโพลิเมอร์, วัสดุเคลือบผิว, การกัดกร่อน

บทคัดย่อ

บทความนี้ศึกษาการต้านทานคลอไรด์ของเหล็กเสริมเมื่อเคลือบด้วย ไฮบริดอัลคาไลผงสังเคราะห์จากผงจีโอโพลิเมอร์ร้อยละ 50 ผสมปูนซีเมนต์ ร้อยละ 40 และซิลิกาฟูมร้อยละ 10 กระตุ้นด้วยสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NH) ที่ความเข้มข้น 2 โมลาร์และน้ำประปา โดยผงจีโอโพลิเมอร์ผลิตจากปูนซีเมนต์แทนที่ในเถ้าลอยร้อยละ 0 และ 20 โดยน้ำหนักวัสดุประสาน สารละลายด่างที่ใช้ในการกระตุ้นปฏิกิริยาในระบบ ประกอบด้วยสารละลายโซเดียมซิลิเกตและสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่ความเข้มข้น 14 โมลาร์ แปรผันอัตราส่วนสารละลายโซเดียมซิลิเกตต่อสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์(NS/NH) เท่ากับ 1.0 และ 2.0 อัตราส่วน
ของเหลวต่อวัสดุประสาน (L/B) เท่ากับ 0.50 และอุณหภูมิที่ใช้บ่มตัวอย่างเท่ากับ 25 และ 60 องศาเซลเซียสทุกอัตราส่วนผสม ผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า การใช้ผงจีโอโพลิเมอร์ที่มีการแทนที่ด้วยปูนซีเมนต์ ปริมาณการใช้สารละลายโซเดียมซิลิเกตและอุณหภูมิในการบ่มเพิ่มขึ้นช่วยปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของไฮบริดอัลคาไลผงได้เป็นอย่างดีในขณะเดียวกันไฮบริด
อัลคาไลผงที่ผลิตจากผงจีโอโพลิเมอร์สามารถต้านทานการกัดกร่อนของคลอไรด์ได้ดีกว่าซีเมนต์เพสต์ควบคุมซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์การซึมผ่านคลอไรด์อยู่ระหว่าง 0.07-0.14x10-12 m2/s มีค่ามากกว่าซีเมนต์เพสต์ควบคุมเท่ากับ 88.71 เท่า นอกจากนี้พบว่าการเคลือบเหล็กเสริมด้วยไฮบริดอัลคาไลผงมีโอกาสการเกิดการกัดกร่อนจากคลอไรด์น้อยกว่าซีเมนต์เพสต์ควบคุมและไม่มีการเคลือบผิวด้วยวิธีการเร่งสนิมเนื่องจากผลผลิตจากปฏิกิริยาภายในระบบทำให้สามารถต้านทานต่อการกัดกร่อนของคลอไรด์
ได้เป็นอย่างดี

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

ประวัติผู้แต่ง

ฉัตรฑริกา เพียงพิมาย, สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

กรกนก จอยนอก, สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ขัตติย ชมพูวงศ์, สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ชุดาภัค เดชพันธ์, สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ศตคุณ เดชพันธ์, สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ณัฐพงศ์ ดำรงวิริยะนุภาพ, สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จ.พะเยา

สาขาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จ.พะเยา

ธนากร ภูเงินขำ, สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-09-05

##plugins.generic.recommendByAuthor.heading##