การเปรียบเทียบค่าระดับสูงที่รังวัดด้วยดาวเทียมกับค่าระดับสูงของหมุดกรมแผนที่ทหาร

ผู้แต่ง

  • ประกอบ มณีเนตร สาขาวิชาวิศวกรรมสำรวจ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
  • ภุชงค์ วงษ์เกิด
  • สาคร เชื่อมั่น
  • ปฏิภาณ เชื่อมั่น
  • บุรินทร์ ทับสายทอง
  • สุทธิโชค หิรัตพรม
  • อรุณยุพา บัวทรัพย์

คำสำคัญ:

การรับสัญญาณดาวเทียม GNSS, ระดับสูงเหนือทะเลปานกลาง, แบบจำลอง TGM2017

บทคัดย่อ

การหาระดับสูงเหนือทะเลปานกลางของจุดต่างๆจากรังวัดด้วยเครื่องรับสัญญาณดาวเทียม GNSSโดยคำนวณจากความสัมพันธ์ระหว่างความสูงเหนือทรงรีและความสูงจีออยด์ ซึ่งความสูงจีออยด์หาได้จากแบบจำลอง TGM2017 โครงการพัฒนาแบบจำลองยีออยด์ความละเอียดสูงของประเทศไทย โครงการนี้อยู่บริเวณ ตำบล เขาน้อย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี โดยได้มีการรังวัดหาค่าระดับสูงวิธีดาวเทียม GNSS ที่หมุดระดับชั้นที่ 1 กรมแผนที่ทหารจำนวน 6 หมุด ซึ่งอยู่ในพื้นที่โครงการ เมื่อเปรียบเทียบค่าระดับสูงที่ได้จากการรังวัดทั้งสองวิธีได้ค่าRMSE เท่ากับ 0.023 เมตร ซึ่งดีกว่า 12 มม√K หรือเกณฑ์งานระดับชั้นที่ 3 การหาค่าระดับสูงวิธีดาวเทียม GNSS ใช้เวลาทำงานได้รวดเร็วกว่า และค่าใช้จ่ายน้อยกว่าวิธีการระดับ

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2020-07-08

วิธีการอ้างอิง

##plugins.generic.recommendByAuthor.heading##