การออกแบบและควบคุมระบบบำบัด น้ำเสียเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่แบบกึ่งอัตโนมัติ
คำสำคัญ:
ระบบเอสบีอาร์, การบำบัดน้ำเสีย, นำน้ำกลับมาใช้ใหม่บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้ศึกษาและพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อนำน้ำทิ้งชุมชนคลองบางเขนใหม่กลับมาใช้ใหม่ทดแทนกิจกรรมการใช้น้ำภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผลการศึกษาพบว่า การใช้ระบบเอสบีอาร์ร่วมกับระบบกรองด้วยทรายและเมมเบรนมีประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำทิ้งดังกล่าวให้เป็นไปตามมาตรฐาน U.S. EPA สำหรับนำกลับมาใช้ใหม่ในชุมชน (Urban Reuse) โดยประสิทธิภาพการบำบัดสารอินทรีย์ในรูปซีโอดี บีโอดี และทีโอซี คิดเป็นร้อยละ 66.2, 51.9 และ 31 ตามลำดับ สารอาหารในรูปไนโตรเจน และฟอสฟอรัสทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 79.7 และ 94.7 ตามลำดับ และปริมาณโคลิฟอร์มทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 99 การใช้ระบบกึ่งอัตโนมัติทำให้กำลังการผลิตน้ำเพิ่มสูงขึ้นจากเดิม 2 เท่า ขณะที่การเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำภายในคลองบ่อยครั้งไม่ส่งผลต่อคุณภาพน้ำที่ผลิตได้สำหรับกรณีการใช้น้ำสำหรับกิจกรรมแบบไม่สัมผัสโดยตรง
##plugins.generic.usageStats.downloads##
เอกสารอ้างอิง
Metcalf and Eddy. 2003. Wastewater Engineering Treatment and Reuse. 4th ed. McGraw-Hill Companies ,Inc., New York.
Eriksson, E., Auffarth, K., Henze, M. & Ledin, A. 2002 Characteristics of grey wastewater. Urban Water 4 (1), 85–104.
U.S. EPA. 1992. Guidelines for water reuse. United States Environmental Protection Agency,Washington.
Friedler, E. 2004 Quality of individual domestic greywater streams and its implication for on-site treatment and reuse possibilities. Environmental Technology 25 (9), 997–1008.
Gu, G. L. 2004 Technical approach to the treatment and reuse of wastewater from laundry washing plants. Journal of Huahai Institute of Technology (Natural Science) 13 (1), 47–49 (in Chinese).
Xiao, Y. T. & Zhang, Y. L. 2009 Study of recycling washing wastewater from textile factory by the integrated technology of membrane. Chinese Journal of Environmental Engineering 3 (3), 427–431 (in Chinese).
Lu, D. 2011 Alternative Entwässerungkonzept für neue Erschließungsgebiete am Beispiel östliche HafenCity in Hamburg (Alternative drainage concept for new development areas on the example Eastern Hafen City in Hamburg). Master thesis, University of Siegen, Siegen, Germany.
Nie, S. S., Wang, B. H. & Xie, S. S. 2013 Study on the water-quality evaluation indexes of laundry wastewater of scale laundry factory. Wool Textile Journal 41 (12), 42–46.
Simon Felz, Pascalle Vermeulen, Mark C.M. van Loosdrecht & Yue Mei Lin 2019
เรือนแก้ว เจริญผล(2559), ผลของเวลาเติมอากาศต่อการกำจัดไนโตรเจนโดยใช้ถังปฏิกรณ์เอสบีอาร์, ปริญญาวิศวกรรมวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วรุทัย เดชตานนท์(2544), การปรับปรุงระบบบำบัดน้ำเสียโดยใช้เอสบีอาร์, ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชลันดา เสมสายัณห์ 2556 การกำจัดจุลินทรีย์ในน้ำทิ้งชุมชนที่ผ่านการบำบัดโดยระบบตัวกลางแขวนลอยร่วมกับเยื่อกรองอัลตร้าฟิลเตรชั่น ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
มณีรัตน์ ติรนันทกุล 2555 การประยุกต์ใช้นาโนไฟเบอร์ในระบบบำบัดน้ำเสียแบบเมมเบรนจมตัวเพื่อการนำกลับมาใช้ใหม่ของน้ำทิ้งชุมชน ,โครงการวิจัยทุนสนับสนุนงานวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพงบประมาณแผ่นดิน, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
สุเทพ สิริวิทยาปกรณ์. 2549. เทคโนโลยีน้ำเสีย. พิมพ์ครั้งที่ 1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
มั่นสิน ตัณฑุลเวศม์. วิศวกรรมการประปาเล่ม 2. กรุงเทพมหานคร. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527
นพรัตน์ พัชณีย์ 2554 การกำจัดโคลิฟอร์มและอีโคไลที่ดื้อยาปฏิชีวนะในระบบตะกอนเร่งที่บำบัดน้ำเสียชุนชน, ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
บทความทั้งหมดที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 นี้ เป็นลิขสิทธิ์ของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์