การเปรียบเทียบกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มจากการคำนวณด้วยวิธีสถิตศาสตร์ และจากผลการทดสอบแบบพลศาสตร์สำหรับชั้นดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์

  • สิทธิภัสร์ เอื้ออภิวัชร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • เรืองวิทย์ โชติวิทยาธานินทร์
  • นิพันธ์ แสงศรี
คำสำคัญ: น้ำหนักบรรทุกของเสาเข็ม, การทดสอบเสาเข็มแบบพลศาสตร์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มตอกจากการคำนวณด้วยวิธีสถิตศาสตร์และจากผลการทดสอบแบบพลศาสตร์ของเสาเข็มจำนวน 13 ต้น จากโครงการก่อสร้างรถไฟทางคู่ หัวหิน - ประจวบคีรีขันธ์ โดยค่ากำลังรับแรงเฉือนที่ใช้ในการทำนายกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มได้จากสมการแปลค่า SPT-N สี่สมการได้แก่ Terzaghi (1967) NAVFAC (1986) Stroud (1974) และ Pitupakorn (1982) ผลการศึกษาพบว่า สมการแปลผลค่า SPT-N เป็นค่ากำลังรับแรงเฉือนของดินของ NAVFAC (1986) มีความถูกต้องมากและแม่นยำมากที่สุดในการทำนายค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มตอกสำหรับชั้นดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีความเอนเอียงเฉลี่ยเท่ากับ 1.05 และมีค่าสัมประสิทธิ์ความแปรผันเท่ากับ 0.19

จำนวนการดาวน์โหลด

ยังไม่มีข้อมูลการดาวน์โหลด

รายการอ้างอิง

[1] ASTM D1586. Standard Test Method for Standard Penetration Test (SPT) and Split-Barrel Sampling of Soils.
[2] Terzaghi, K., and Peck, R. B. (1967). Soil Mechanics in
Engineering Practice, Second Edition, John Wiley, New York, 729p
[3] Stroud, M. A. (1974). The standard penetration test in insensitive clays and soft rock, Proceedings of the 1st European Symposium on Penetration Testing, Sweden: Stockholm, vol. 2, No. 2, pp. 367-375.
[4] NAVFAC (1986) Soil Mechanics: Design Manual 7.01, Naval Facilities Engineering Command, Alexandria, Virginia.
[5] Pitupakorn, W. (1983). Prediction of pile carrying capacity from standard penetration test in Bangkok metropolis subsoil, Master thesis, Chulalongkorn University, Bangkok.
[6] สิรัญญา ทองชาติ และปวริส รื่นนุสาร (2019). การทบทวนวิธีการออกแบบฐานรากเสาเข็มปัจจุบันในพื้นที่กรุงเทพมหานคร. Naresuan University Engineering Journal, Vol.14 1(2019), หน้า 11-28.
[7] Holmberg, S. (1970). Load testing of driven piles in Bangkok clay. Journal of South East Asian Society of Soil Engineering, Vol. 1, No.2, pp. 61-78.
[8] Tomlinson, M. J. (1995). Foundation Design and Construction: 6th edition, Longman.
[9] Kulhawy, F.H., and Mayne, P.W. (1990). Manual of Estimating Soil Properties for Foundation Design. Electric Power Research Institute, Palo Alto, USA.
[10] Terzaghi, K. (1943). Theoretical Soil Mechanics. John Wiley, New York.
[11] Meyerhof, G.G. (1974) Ultimate Bearing Capacity of Footings on Sand Layer Overlying Clay. Canadian Geotechnical Journal, 11, 223-229.
[12] Peck, R. B., Hanson, W. E., & Thornburn, T. H. (1953). Foundation Engineering, New York: John Wiley & Sons.
เผยแพร่แล้ว
2020-07-09
How to Cite
[1]
เอื้ออภิวัชร์ส., โชติวิทยาธานินทร์ เ. และ แสงศรีน. 2020. การเปรียบเทียบกำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มจากการคำนวณด้วยวิธีสถิตศาสตร์ และจากผลการทดสอบแบบพลศาสตร์สำหรับชั้นดินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25. 25, (ก.ค. 2020), GTE40.