การพัฒนาระบบและเทคนิคการสอบเทียบเพื่อจัดทำแผนที่ 3 มิติความถูกต้องสูง ของสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน)

ผู้แต่ง

  • ณัฐกิตติ์ เสงี่ยม สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน)

คำสำคัญ:

Lever Arm, Bore-Sight, ข้อมูล Point Cloud

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอนำเสนอการพัฒนาเทคโนโลยีสำรวจจัดทำแผนที่ 3 มิติแบบเคลื่อนที่ และเทคนิคการสอบเทียบระบบ โดยใช้กล้อง Total Station, terrestrial Laser Scanner และ Computer Measuring Machine (CMM) เพื่อให้ได้ค่า Lever Arm และ Bore-Sight ของระบบที่มีความถูกต้องสูงเมื่อเปรียบเทียบกับจุดศูนย์กลางของระบบ จากนั้นจัดทำ Ground Control Point (GCP) บนพื้นที่ทดสอบด้วยกล้อง Total Station จากนั้นวิ่งทดสอบระบบ MMS ในพื้นที่ทดสอบที่เตรียมจุดควบคุมไว้และนำข้อมูลไปประมวลผลโดยโปรแกรม Qinertial โดยใช้ค่า Lever Arm และ Bore-Sight ที่ได้จากการสอบเทียบข้างต้น จะได้ข้อมูล 2 ส่วนคือ ภาพถ่าย 360 องศา และข้อมูล Point Cloud ซึ่งนำมาเปรียบเทียบกับ GCP ที่ทำไว้ ได้ผลการเปรียบเทียบความคลาดเคลื่อนทางราบ ±5 เซนติเมตร และทางดิ่ง ±7 เซนติเมตร ที่ระยะ 15 เมตรจากจุดเปิดถ่าย

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2020-07-08

วิธีการอ้างอิง

[1]
เสงี่ยม ณ. 2020. การพัฒนาระบบและเทคนิคการสอบเทียบเพื่อจัดทำแผนที่ 3 มิติความถูกต้องสูง ของสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน). การประชุมวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25. 25, (ก.ค. 2020), SGI15.