สมบัติทางกลของจีโอพอลิเมอร์คอนกรีตที่ใช้มวลรวมละเอียดรีไซเคิลจากเศษหินแกรนิต

ผู้แต่ง

  • กานต์ธิปก ฮามคำไพ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ภีม เหนือคลอง หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมวัสดุก่อสร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ.กรุงเทพฯ
  • พิชชา จองวิวัฒสกุล หน่วยปฏิบัติการวิจัยนวัตกรรมวัสดุก่อสร้าง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ.กรุงเทพฯ
  • เสวกชัย ตั้งอร่ามวงศ์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ.กรุงเทพฯ

คำสำคัญ:

จีโอพอลิเมอร์, คอนกรีต, แกรนิต, มวมรวมรีไซเคิล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมบัติทางกลของจีโอพอลิเมอร์ คอนกรีตที่ใช้มวลรวมละเอียดรีไซเคิล โดยขยะอุตสาหกรรมแกรนิตถูกใช้ แทนที่ทรายธรรมชาติในปริมาณร้อยละ 0, 25, 50 และ 100 โดยน้้าหนัก ของมวลรวมละเอียด ผลการทดสอบถูกน้ามาเปรียบเทียบกับคอนกรีต ควบคุมที่ใช้มวลรวมละเอียดจากทรายธรรมชาติ จากผลการทดสอบพบว่า การใช้มวลรวมรีไซเคิลจากเศษหินแกรนิตสามารถเพิ่มก้าลังรับแรงอัดของ คอนกรีตที่อายุ 7 วัน ก้าลังรับแรงดัดมีค่าเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มปริมาณของ มวลรวมจากเศษหินแกรนิต นอกจากนั้นยังพบว่าจีโอโพลิเมอร์คอนกรีตที่ใช้ เศษหินแกรนิตเป็นมวลรวมร้อยละ 50 มีค่าความเหนียวสูงที่สุด

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

เอกสารอ้างอิง

[1] Davidovits, J. (1994). Global warming impact on the cement and aggregates industries. World resource review, 6(2), 263278.
[2] Nuaklong, P., Sata, V., & Chindaprasirt, P. (2016). Influence of recycled aggregate on fly ash geopolymer concrete properties. Journal of Cleaner Production, 112, 23002307.
[3] Guo, X., Shi, H., & Dick, W. A. (2010). Compressive strength and microstructural characteristics of class C fly ash geopolymer. Cement and Concrete Composites, 32(2), 142147.
[4] ASTM, International. (2005). Standard Specification for Coal Fly Ash and Raw or Calcined Natural Pozzolan for Use in Concrete (ASTM C618).
[5] Ghannam, S., Najm, H., & Vasconez, R. (2016). Experimental study of concrete made with granite and iron powders as partial replacement of sand. Sustainable Materials and Technologies, 9, 1-9.
[6] Jain, A., Gupta, R., & Chaudhary, S. (2019). Performance of self- compacting concrete comprising granite cutting waste as fine aggregate. Construction and Building Materials, 221, 539-552.
[7] Singh, S., Khan, S., Khandelwal, R., Chugh, A., & Nagar, R. (2016). Performance of sustainable concrete containing granite cutting waste. Journal of Cleaner Production, 119, 86-98.
[8] Vijayalakshmi, M., & Sekar, A. S. S. (2013). Strength and durability properties of concrete made with granite industry waste. Construction and Building Materials, 46, 1-7.
[9] อำพล วงศ์ษา. (2556). การใช้วัสดุเศษวัสดุเป็นส่วนผสมในคอนกรีต พรุน (วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต). สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประเทศไทย.
[10] Zhuang, X. Y., Chen, L., Komarneni, S., Zhou, C. H., Tong, D. S., Yang, H. M., ... & Wang, H. (2016). Fly ash-based geopolymer: clean production, properties and applications. Journal of Cleaner Production, 125, 253-267.
[11] ASTM, International. (2003). Standard Specification for Concrete Aggregates (ASTM C33).
[12] ASTM, International. (2005). Standard Test Method for Slump Flow of Self-Consolidating Concrete (ASTM C1611).
[13] ASTM, International. (2018). Standard Test Method for Compressive Strength of Cylindrical Concrete Specimens (ASTM C39).
[14] ASTM, International. (2002). Standard Test Method for Flexural Strength of Concrete (Using Simple Beam with Third-Point Loading) (ASTM C78).

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2020-07-07

วิธีการอ้างอิง