การวิเคราะห์การทรุดตัวของฐานรากเสาเข็มแบบแผ่สำหรับอาคารสูงด้วยวิธีไฟไนท์อีลิเมนต์แบบสามมิติ

  • ยอดตะวัน รักษารมย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • พรพจน์ ตันเส็ง
คำสำคัญ: ฐานรากเสาเข็มแพ, น้ำหนักบรรทุกคงที่, น้ำหนักบรรทุกปลอดภัย, การทรุดตัวที่แตกต่างกัน

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอผลการวิจัยพฤติกรรมการทรุดตัวของฐานราเสาเข็มแบบแผ่ (mat) สำหรับอาคารสูง โดยใช้ข้อมูลแรงกระทำจากโครงสร้างส่วนบน, ผลการทดสอบเสาเข็มเจาะขนาด 1000 มิลลิเมตร และ      1500 มิลลิเมตร และผลการตรวจวัดการทรุดตัวของ mat ตั้งแต่เริ่มก่อสร้างจนสิ้นสุดการก่อสร้าง พบว่าการทรุดตัวของ mat มีลักษณะเป็นรูปถ้วยโดยการทรุดตัวเกิดที่ส่วนกลางของฐานมากที่สุด ค่าการทรุดตัวของ mat สูงกว่าการทรุดตัวของเสาเข็มทดสอบที่น้ำหนักบรรทุกออกแบบประมาณ 6 เท่า งานวิจัยจึงได้ใช้ไฟไนท์อีลิเมนต์โปรแกรม PLAXIS 3D วิเคราะห์กลับเพื่อหาค่า Young’s modulus โดยใช้ข้อมูลการทรุดตัวจากผลการทดสอบเสาเข็มพบว่าค่าที่ได้นั้นต่ำกว่าการวิเคราะห์กลับโดยใช้ผลการตรวจวัดการทรุดตัวของฐานราก งานวิจัยได้ทำการศึกษาอิทธิพลของรูปแบบการจัดเรียงเสาเข็มต่อการทรุดตัวและโมเมนต์ดัดใน mat โดยใช้วิธีวิเคราะห์ร่วมกันระหว่างโปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง ETABS กับ PLAXIS 3D พบว่าการจัดเรียงเสาเข็มโดยมีการแปรผันความยาวเสาเข็มสามารถลดการทรุดตัวที่แตกต่างกันภายใน mat และลดโมเมนต์ดัดที่เกิดขึ้นใน mat ได้

จำนวนการดาวน์โหลด

ยังไม่มีข้อมูลการดาวน์โหลด

รายการอ้างอิง

ธานินทร์ พงศ์รุจิกร. 2528. เทคนิคในการประมาณค่าการทรุดตัวของอาคารสูงในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปฐม เฉลยวาเรศ. 2529. การทรุดตัวของฐานรากแบบเสาเข็มในชั้นดินเหนียว. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทินกร โรจนธารา. 2528. การทํานายการทรุดตัวของคอสะพานในบริเวณดินอ่อนโดยใช้หน่วยแบริ่ง. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วรวิทย์ รุ่งอรุณอโนทัย. 2546. การวิเคราะห์การทรุดตัวของหน่วยแบริ่งบริเวณคอสะพานด้วยวิธีทางตัวเลข. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

นรากร แซ่เล่า. 2546. การทรุดตัวของฐานรากเสาเข็มแผ่กรณีฐานรากรับน้ำหนักไม่เพียงพอ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นฤทธิ์ ประกอบบุญ. (2546). การวิเคราะห์การเคลื่อนตัวทางด้านข้างของเสาเข็มดินซีเมนต์ในงานขุด. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต วิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 142 น.

พงษ์ศิลป์ เดชะดนุวงศ์. (2553). การศึกษาพฤติกรรมความเค้นความเครียดของกำแพงกินดินชนิดเรียงต่อเนื่องด้วยวิธีไฟไนต์อิลิเมนต์. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 156 น.

Randolph, M. (1994). Design methods for pile groups and piled rafts. International conference on soil mechanics and foundation engineering.

Katzenbach, R., et al. (1998). Piled raft foundation: interaction between piles and raft. Darmstadt Geotechnics 4(2): 279-296.

Poulos, H. (2001). Piled raft foundations: design and applications. Geotechnique 51(2): 95-113.

Reul, O. and M. F. Randolph (2004). Design strategies for piled rafts subjected to nonuniform vertical loading. Journal of Geotechnical and Geoenvironmental Engineering 130(1): 1-13.

Mali, S. and B. Singh (2019). 3D Numerical Modeling of Large Piled-Raft Foundation on Clayey Soils for Different Loadings and Pile-Raft Configurations. Studia Geotechnica et Mechanica 1(ahead-of-print).

Amornfa, K., et al. (2012). Current practice on foundation design of high-rise buildings in Bangkok, Thailand. Lowland technology international 14(2, Dec): 70-83.

Poulos, H. G. and Davis, E. H. (1980). Pile foundation analysis and design. New York: Wiley.

Sambhandharaska, S., et al. (1987). Settlements of structures and their predictions in Bangkok subsoils. Southeast Asian geotechnical conference. 9.

SEAFCO public company limited (2011). SEAFCO brochure. Retrieved April 2011, from http://www.seafco.co.th

Duncan, J.M. and Buchighani, A.L., (1976). An Engineering Manual for Settlement Studie. Geotech. Eng. Report, Departure of Civil Engineering, University of California at Berkeley, pp. 254 - 268.

Ladd, C.C.,Foote, R., Ishihara, K., Schlosser, F. and Poulos, H.G., Stress deformation and strength characteristic. In Proc. 9th Int. Conf.On Soil Mechanic and Foundation Engineering. Pp. 421-494, Vol.2, Tokyo. 1997.

Mair, R. J., & Taylor, R. N. (1993). Prediction of clay behaviour around tunnels using plastic solutions. Pages 449-463 of Predictive Soil Mechanics, Proc. Wroth Memorial Symposium. Thomas Telford, London.

NAVFAC DM-7.2. (1982). Foundation and Earth Structures. Department of the Navy Naval Facilities Engineering Command.

Tepasaksa W., Thasananipan N. and Tangseng P., (1999). Analysis of lateral wall movement for deep excavation inBangkok subsoils. proceeding of the civil and Environmental Engineering Conference, Bangkok, Thailand, pp. II-67 – II-76.

Worth, C.P. (1985). Soil-Mechanics-Property Characterization and analysis Procedures,1-55. Proceedings of The Eleventh International Conference on Soil Mechanicsand Foundation Engineering. AA.Balkema, Rotterdam , Netherlands.
เผยแพร่แล้ว
2020-07-09
How to Cite
[1]
รักษารมย์ย. และ ตันเส็งพ. 2020. การวิเคราะห์การทรุดตัวของฐานรากเสาเข็มแบบแผ่สำหรับอาคารสูงด้วยวิธีไฟไนท์อีลิเมนต์แบบสามมิติ. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25. 25, (ก.ค. 2020), GTE15.

แนะนำบทความที่มีผู้เขียนคนเดียวกันกับบทความนี้