ผลศึกษาเบื้องต้นของแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ค่าความซึมได้ของดินทรายแป้ง
คำสำคัญ:
ค่าความซึม, แบบจำลองทางคณิตศาสตร์, ความพรุน, ค่าขนาดประสิทธิผล, ช่องว่างประสิทธิผลบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งเน้นเพื่อพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ค่าความซึมได้ของดินทรายแป้งในเขตอุบลราชธานี โดยใช้การทดสอบหาค่าความซึมได้แบบความดันแปรผันของดินทรายแป้งและลูกปัดขนาดต่างๆ โดยทำการแปรผันค่าความหนาแน่นของตัวอย่างทดสอบ การพัฒนาแบบจำลองทางคณิตศาสตร์มุ่งเน้นที่ตัวแปรที่มีผลต่อนำค่าความซึมได้ คือ ขนาดช่องว่างประสิทธิผล ค่าอัตราส่วนช่องว่าง ค่าขนาดประสิทธิผลเม็ดดิน ผลการศึกษาเบื้องต้นพบว่า ค่า e (void ratio) และ มีผลอย่างมีนัยยะต่อค่าความซึมได้
Downloads
เอกสารอ้างอิง
Vukovic, M., & Soro, A. (1992). Determination of hydraulic conductivity of porous media from grain-size composition.
Slichter, C. S. (1898). A Theoretical Investigation of the Motion of Ground Waters. 19th. Ann. Rpt. US ‘Geol. Survey Part II, 301.
Hazen A (1892) Some physical properties of sand and gravel, with special reference to their use in filtration. Massachusetts State Board of Health, 24thAnnual Report, Boston
NAVFAC (1974). Design Manual- Soil Mechanics, Foundations and Earth Structures (DM-7). US Department of Navy Printing Office, Washington
ASTM Standard D2434-68 (2006) Standard Test Method for Permeability of Granular Soils (Falling Head). ASTM International, West Conshohocken, PA, DOI: 10.1520/D2434- 68R06, www.astm.org
Kenney TC, Lau D, Ofoegbu GI (1984) Permeability of compacted granular materials. Can Geotech J 21: 726-729
Kresic N (1998). Quantitative Solutions in Hydrogeology and Groundwater Modeling. Lewis Publishers, Florida
AAPG Student. (2014, September 28). Introduction to Petrophysics [Web log post]. Retrieved June 28, 2017, from https://aapgscui.wordpress.com
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
บทความทั้งหมดที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 นี้ เป็นลิขสิทธิ์ของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์