การใช้เทคนิคผสมผสาน RSA และ iRAP เพื่อยกระดับความปลอดภัยทางถนนในพื้นที่ท่องเที่ยว

ผู้แต่ง

  • เยาวภา สีทอง ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ผศ.บุญพล มีไชโย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ดร. พลปรีชา ชิดบุรี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ผศ. ดร. ทวีศักดิ์ แตะกะโทก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ผศ. ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

คำสำคัญ:

การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน (RSA), การประเมินความปลอดภัยทางถนน (iRAP),, พื้นที่ท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

จากข้อมูล World Economic Forum (WEF) ปี2564 ระบุว่าประเทศไทยถูกจัดอันดับด้านความมั่นคงและความปลอดภัยของนักท่องเที่ยวอยู่ที่อันดับ 92 จากทั้งหมด 117 ประเทศ ความปลอดภัยทางถนนก็เป็นส่วนหนึ่งของปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดอันดับดังกล่าว ดังนั้นจำเป็นต้องมีการศึกษาเพื่อป้องกันและลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุทางถนนมีความครอบคลุมในพื้นที่ท่องเที่ยว โดยใช้กระบวนการการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน (RSA) ประกอบกับการประเมินระดับความปลอดภัย (iRAP) ของถนนมาเป็นเครื่องมือการดำเนินงานบริหารจัดการปัจจัยเสี่ยงการเกิดอุบัติเหตุทางถนนทั้งด้านพฤติกรรมคน ถนน ยานพาหนะ และสภาพแวดล้อม โดยมีพื้นที่เป้าหมายคือจังหวัดชลบุรี (พัทยา) และจังหวัดภูเก็ต จากการศึกษาพบว่าสามารถใช้เทคนิคทั้ง 2 เทคนิคผสมผสานกันแล้วพบว่าสามารถตรวจพบความเสี่ยงที่สอดคล้องและแตกต่างกัน และสามารถนำไปปรับใช้ให้กับพื้นที่ท่องเที่ยวได้

Downloads

Download data is not yet available.

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2023-07-08

วิธีการอ้างอิง

สีทอง เ., มีไชโย บ., ชิดบุรี พ., แตะกะโทก ท., & เสฏฐสุวจะ ด. . (2023). การใช้เทคนิคผสมผสาน RSA และ iRAP เพื่อยกระดับความปลอดภัยทางถนนในพื้นที่ท่องเที่ยว. การประชุมวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28, 28, TRL38–1. สืบค้น จาก https://conference.thaince.org/index.php/ncce28/article/view/2229

##plugins.generic.recommendByAuthor.heading##