พฤติกรรมโครงสร้างจุดต่อพื้น-เสาเสริมหมุดเหล็กภายใต้แรงด้านข้างแบบวัฏจักร

  • ธนกร ขุนฤทธิ์
  • พิสณฑ์ อุดมวรรัตน์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • ณัฐวุฒิ ธนศรีสถิตย์
  • อดิศร โอวาทศิริวงศ์
  • อํานาจ คําพานิช
คำสำคัญ: แผ่นดินไหว, แรงเฉือนทะลุ, จุดต่อแผ่นพื้นและเสา, หมุดเหล็กรับแรงเฉือน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมตัวอย่างทดสอบโครงสร้างอาคารขนาดจริงของจุดต่อแผ่นพื้นและเสาที่ตั้งอยู่บริเวณกลางพื้นภายใต้แรงแผ่นดินไหว แผ่นพื้นทดสอบเป็นแผ่นพื้นคอนกรีตอัดแรง (Post-Tension) ที่ติดตั้งลวดอัดแรงภายในแผ่นพื้นทดสอบจำนวน 8 เส้น ซึ่งมีค่า Pre-compression2.3 MPa และ เสริมกำลังด้วยหมุดเหล็ก (Stud rail) ในลักษณะเป็นมุมฉาก (Orthogonal layout) เพื่อต้านทานแรงเฉือนทะลุ ตามมาตรฐาน ACI 318 การทดสอบจะกระทำในลักษณะ Displacement-controlled method โดยออกแรงกระทำด้านข้างแบบวัฏจักร (Cyclic loading test) จนกระทั่งเกิดการวิบัติ จากการทดสอบสามารถหาความสัมพันธ์ของระยะการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างชั้นและแรงที่กระทำด้านข้าง ในรูปแบบของกราฟ Hysteretic ซึ่งพบว่าตัวอย่างทดสอบมีความเหนียวสามารถต้านทานต่อการเฉือนทะลุ โดยมีค่าอัตราส่วนการเคลื่อนที่สัมพัทธ์ระหว่างชั้น (Drift ratio) ประมาณ 7.5% ที่จุดวิบัติ การเสริมกำลังแผ่นพื้นทดสอบด้วยหมุดเหล็ก (Stud rail) สามารถเพิ่มความเหนียวให้กับตัวอย่างทดสอบทดสอบได้อย่างมีนัยสำคัญ

จำนวนการดาวน์โหลด

ยังไม่มีข้อมูลการดาวน์โหลด

รายการอ้างอิง

[1] ACI Committee 318, (2014). Building Code Requirements for Structural Concrete (ACI 318-14) and Commentary (ACI 318R-14), American Concrete Institute, Farmington Hills, MI.
[2] Pan, A., and Moehle, J.P. (1989). Lateral displacement ductility of reinforced concrete flat plates, ACI Structural Journal, 86, 3, pp. 250-258.
[3] Pongpornsup, S. (2003). Seismic Performance of Post-Tensioned Interior Flat Slab-Column Connections. Master Thesis, Asian Institute of Technology, Thailand.
[4] Tandian, C.H. (2006). Seismic Performance of Bonded PostTensioned Interior Flat Slab-Column Connections with Drop Panel. Master Thesis, Asian Institute of Technology, Thailand.
[5] Posai, K. (2016). Cyclic Testing of Post-Tensioned Flat Plates with Headed Shear Studs. Master Thesis, King’s Mongkut’s University of Technology Thonburi, Thailand.
[6] Hawkins, N. M., Mitchell, D., and Sheu, M. S. (1974). Cyclic Behavior of Six Reinforced Concrete Slab-Column Specimens Transferring Moment and Shear. Progress Report 1973-74 on NSF Project GI-38717, Section II, University of Washington, Seattle, Wash.
[7] Park, R. (1989). Evaluation of ductility of structures and structural assemblages from laboratory testing. New Zealand National Society for Earthquake Engineering, 22(3), pp. 155-166.
[8] Zhou, Y. and Hueste, M.D. (2017). Review of laboratory test data for combined lateral and gravity shear demands on interior slab-column connections. World Conference on Earthquake (16WCEE 2017), Santiago, Chile, 09-13 January 2017, pp. N° 2606
เผยแพร่แล้ว
2020-07-09
How to Cite
[1]
ขุนฤทธิ์ธ., อุดมวรรัตน์พ., ธนศรีสถิตย์ณ., โอวาทศิริวงศ์อ. และ คําพานิชอ. 2020. พฤติกรรมโครงสร้างจุดต่อพื้น-เสาเสริมหมุดเหล็กภายใต้แรงด้านข้างแบบวัฏจักร. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25. 25, (ก.ค. 2020), STR27.

แนะนำบทความที่มีผู้เขียนคนเดียวกันกับบทความนี้