การวิเคราะห์เอกสารสัญญาจ้างก่อสร้างสำหรับโครงการก่อสร้างซึ่งใช้ การจำลองสารสนเทศอาคาร
คำสำคัญ:
การจำลองสารสนเทศอาคาร (BIM) , การจัดการสัญญาจ้างก่อสร้างโครงการ BIM, มาตรฐานการจำลองสารสนเทศอาคาร,, Building Information Modeling (BIM), construction contract management for BIM projects, BIM standardsบทคัดย่อ
ในระยะเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมาการจำลองสารสนเทศอาคาร (Building Information Modeling, BIM) ได้เข้ามาเป็นส่วนสำคัญของกระบวนการส่งมอบโครงการก่อสร้างสมัยใหม่ งานวิจัยจำนวนมากได้ศึกษาการนำ BIM ไปใช้ในแง่มุมต่าง ๆ เช่น กระบวนการทำงาน, แบบจำลอง BIM, และ BIM Uses แต่งานวิจัยที่เกี่ยวกับสัญญาจ้างก่อสร้างในโครงการก่อสร้างซึ่งใช้ BIM (โครงการ BIM) นั้นยังมีอยู่อย่างจำกัด เนื่องจากโครงการ BIM แตกต่างจากโครงการก่อสร้างทั่วไปในหลาย ๆ ด้าน องค์ประกอบและการจัดการสัญญาจ้างในโครงการ BIM (สัญญา BIM) จึงมีลักษณะเฉพาะตัว ในบทความนี้เราจะศึกษาโครงสร้างของสัญญาซึ่งเหมาะสมกับโครงการ BIM ในประเทศไทย โดยมุ่งเน้นศึกษาเอกสารและเนื้อหาสำคัญของสัญญาBIM การวิจัยเริ่มจากการรวบรวมและวิเคราะห์มาตรฐาน แนวทาง คู่มือ และเอกสารเกี่ยวกับ BIM ซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในอุตสาหกรรมก่อสร้างทั่วโลก จากนั้นจึงสำรวจปัญหาซึ่งประสบขณะบริหารจัดการสัญญา BIM ผลการศึกษาจะสามารถใช้ในการพัฒนาโครงสร้างสัญญาBIM และใช้สำหรับร่างเนื้อหาของเอกสารสัญญา BIM ซึ่งเหมาะสมกับระบบนิเวศน์ของโครงการ BIM (BIM project ecosystem) ในประเทศไทย
##plugins.generic.usageStats.downloads##
เอกสารอ้างอิง
[2] Singh, V., Gu, N., & Wang, X. (2011). A theoretical framework of a BIM-based multi-disciplinary collaboration platform. Automation in Construction, 20(2), 134–144. doi:10.1016/ j.autcon.2010.09.011
[3] OmniClass (2012). OmniClass: A Strategy for Classifying the Built Environment, Table 31-Phase. USA.
[4] Arrifin, J. (1984). Impact of modern electronics technology on women workers in Malaysia. In M. Aziz, C. Yip, & L. Ling (Eds.), Technology, culture and development. Kuala Lampur, Malaysia: University of Malaya Press.
[5] จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์ (2559). บทวิจารณ์หนังสือ BIM AND CONSTRUCTION MANAGEMENT: PROVEN TOOLS, METHODS, AND WORKFLOWS. 2nd Edition โดย Hardin, Brad & McCool, Dave 2558. วารสารการจัดการสมัยใหม่, ปีที่14, ฉบับที่ 1, เดือนมากราคม-มิถุนายน 2559
[6] นนทวัตร กมลวัชรชัย (2559). รูปแบบการนำ BIM ไปปฏิบัติการในองค์กรด้านสถาปัตยกรรม วิศกรรม และการก่อสร้าง, วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559.
[7] Computer Integrated Construction Research Program. (2013). “BIM Planning Guide for Facility Owners”. Version 2.0, June, The Pennsylvania State University, University Park, PA, USA. Available at http://bim.psu.edu
[8] The National Institute of Building Sciences. The National BIM Guide for Owners is a new guide (2017). the National BIM Standard-United States®
[9] The American Institute of Architects, AIA Document G202™ Building Information Protocol Form (2013). http://www.aia.org/aiaucmp/groups/aia/documents/pdf/aiab099086.pd
[10] BCA (2 0 1 2). Singapore BIM Guide Version 1.0, MND Complex Singapore 0 6 9 1 1 0, Building and Construction Authority.
[11] วจิราภรณ์ ธรรมรักษา (2558). แนวทางการบริหารจัดการการออกแบบในช่วงเปลี่ยนผ่านเพื่อนําแบบจําลอง สารสนเทศอาคาร (BIM) มาใช้ในกระบวนการการทํางานร่วมกัน (COLLABORATION) ในการพัฒนาแบบสถาปัตยกรรม สําหรับสํานักงานสถาปนิกในประเทศไทย, สถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต, สถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2558.
[12] กนกวรรณ เรืองปิ่น (2558). บูรณการแนวคิดการจำลองสารสนเทศอาคาร (BIM) กับกระบวนการออกแบบอาคาร, วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) , จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558.
[13] Hasan Burak Cavka, SherylStaub-French, Erik A.Poirier. (2017). Developing owner information requirements for BIM-enabled project delivery and asset management. Automation in Construction Volume 83, November 2017, Pages 169-183. doi.org/10.1016/j.autcon.2017.08.006.
[14] British Standards Institution (BSI) PAS 1192-2:2013 Specification for information management for the capital/delivery phase of construction projects using building information modelling. (2013.). doi:10.3403/30259522
[15] BCA (2 0 1 3c). Singapore BIM Guide Version 2.0, MND Complex Singapore 0 6 9 1 1 0, Building and Construction Authority.
[16] วีระศักดิ์ ลิขิตเรืองศิลป์. เอกสารประกอบการสอน วิชา 2101454 การบริหารงานก่อสร้าง. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาวิศวกรรมโยธาคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552.
[17] The American Institute of Architects, The Associated General Contractors of America, Primer on Project Delivery Second Edition (2011).
[18] Computer Integrated Construction Research Program. BIM Project Execution Planning Guide – Version 2.1. Pennsylvania State University (2011). http://bim.psu.edu
[19] สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2558 , แนวทางการใช้งานแบบจำลองสารสนเทศอาคารสำหรับประเทศไทย(Thailand BIM Guideline), พิมพ์ครั้งที่ 1, สำนักพิมพ์ บริษัท พลัสเพรส จำกัด, กรุงเทพฯ.
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
บทความทั้งหมดที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 นี้ เป็นลิขสิทธิ์ของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์