Sustainability Indicators Review of Hemp Shiv as Alternative Materials for the Construction Industry in Thailand
คำสำคัญ:
ความยั่งยืนในงานก่อสร้าง, วัสดุที่ประหยัดและเป็นมิตรต่อระบบนิเวศ, การเพิ่มมูลค่าวัสดุ, การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน, การชดเชยปริมาณคาร์บอนบทคัดย่อ
ปัจจุบันกัญชงได้รับการส่งเสริมให้ปลูกในหลายพื้นที่ทั่วโลกเนื่องจากสามารถประยุกต์ใช้ส่วนต่าง ๆ ได้อย่างหลากหลาย อย่างไรก็ตามในประเทศไทยข้อจำกัดเกี่ยวกับการปลูกและใช้งานกัญชงยังอยู่ในช่วงทดลองหาความเหมาะสม ต้นกัญชงสามารถใช้งานได้ทุกส่วน โดยดอก ใบ และรากของต้นกัญชงสามารถใช้ผลิตยารักษาโรค ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และวิตามิน เป็นต้น ลำต้นให้เส้นใยที่ใช้ในอุตสาหกรรมสิ่งทอและยังมีการทำวิจัยเพิ่มเติมเพื่อนำไปประยุกต์ในอุตสาหกรรมพลังงานและอุตสหกรรมอื่น ๆ เพื่อเพิ่มมูลค่า ในประเทศที่มีการปลูกและใช้งานกัญชงในระดับอุตสาหกรรม แกน ก้านหรือเศษขนาดเล็กที่เหลือจะถูกนำมาใช้เพื่อทดแทนไม้หรือนำไปใช้ในอุตสาหกรรมการก่อสร้างในรูปแบบต่าง ๆ ได้ แต่ในประเทศไทยปริมาณวัตถุดิบในส่วนนี้หรือที่เรียกว่าเฮมพ์ไชฟ์ (Hemp shiv) ยังมีไม่มากพอรองรับอุตสาหกรรม เฮมพ์ไชฟ์ มีคุณสมบัติที่เป็นที่ต้องการของวัสดุก่อสร้างและสามารถใช้เป็นส่วนผสมแทนที่มวลรวมหยาบเช่นในเฮมพ์ คอนกรีต (Hemp Concrete) และบล๊อกเฮมพ์ หรือเรียกว่าเฮมพ์กรีต (Hemprete) ที่ผ่านมามีงานวิจัยจำนวนหนึ่งที่ประเมินความสามารถของเฮมพ์กรีตและเฮมพ์คอนกรีตในการเป็นวัสดุผนัง ผลลัพท์ที่แสดงให้เห็นว่าเฮมพ์ คอนกรีตและแฮมพ์กรีตมีศักยภาพในการเป็นผนังที่รับและไม่รับแรง อย่างไรก็ตามปริมาณของแกนกัญชงที่จำเป็นในการสนับสนุน/ส่งเสริมการผลิตเชิงอุตสาหรกรรมอาจทำให้เกิดความต้องการในการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจากการปลูกพืชอาหารเป็นการปลูกพืชเศรษฐกิจที่ไม่สามารถบริโภคได้ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงนี้อาจส่งให้เกิดความเสี่ยงและอาจเพิ่มความอ่อนแอในการต้านทานผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากขึ้น การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความยั่งยืนของกัญชงในฐานะวัสดุทางเลือกสำหรับอุตสาหกรรมการก่อสร้างในประเทศไทย โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบผลกระทบของกัญชงเชิงอุตสาหกรรมและการทดแทนคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Offest) ผ่านตัวชี้วัดด้านความยั่งยืนด้านทั้งเรื่องสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ จากการทดแทนมวลรวมหยาบในผลิตภัณฑ์ด้สนเฮมพ์ ไชฟ์ รวมถึงการทำการสำรวจความเป็นไปได้ทางเศรษฐกิจและการเพิ่มศักยภาพของการสร้างมมูลค่าเพิ่มโดยการใช้กากกัญชงในผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง
Downloads
เอกสารอ้างอิง
[2] Huang, L., Krigsvoll., G., Johansen, F., Liu, Y., Zhang, X. (2018). Carbon emission of global construction sector. Renewable and Sustainable Energy Reviews, Elsevier, 81(P2), pp. 1906-1916.
[3] Madurwar, M. V., Ralegaonkar, R. V., Mandavgane, S. A. (2013). Application of agro-waste for sustainable construction materials: a review. Construction and Building Materials, 38, pp. 827-878.
[4] Raut, S. P., et al. (2011). Development of sustainable construction material using industrial and agricultural solid waste: A review of waste-create bricks. Construction and Building Materials, 25(10), pp. 4037-4042.
[5] Yilmaz, M., Bakiş, A. (2015). Sustainability in Construction Sector. Procedia-Social and Behavioural Science, 195, pp. 2253-2262.
[6] Colangelo, F., Forcina, A. et al (2018). Life cycle assessment (LCA) of different kind of concrete containing waste for sustainable construction. Buildings, 8(5), pp.70
doi: 10.3390/buildings8050070
[7] Panyakaew, S., Fotios, S. (2008). Agricultural Waste Materials as Thermal Insulation for Dewllings in Thailand: Preliminary Results. PLEA 2008-25th Conference on Passive and Low Energy Architecture, Dublin, Ireland, 22-24 October 2008.
[8] Gan, X., Zou, J., Ye, K., Skitmore, M., and Xiong, B. (2015). Why sustainable construction? Why not? An owner’s perspective. Habitat International, 47, pp. 61-68.
[9] Ferrer, A. L. C., Thomé, A. M. T., and Scavarda, A. J. (2018). Sustainable urban infrastructure: A review. Resources, Conservation and Recycling, 128, pp. 360-372.
[10] Karakoç., A. (2017). A Brief Review on Sustainability Criteria for Building Materials. JOJ Material Sci. 2(1): 555579. DOI: 10.19080/ JOJMS.2017.02.555579
[11] Khasreen, M. M., Banfill, P. F. G., and Menzies, G. F. (2009). Life-Cycle Assessment and the Environmental Impact of Buildings: A Review. Sustainability, 1, pp. 674-701.
[12] Liew, K. M., et al. (2017). Green concrete: Prospects and challenges. Construction and Building Materials, 156, pp. 1063-1095.
[13] Krizmane, M., et al. (2016). Key Criteria Across Existing Sustainable Building Rating Tools. Energy Procedia, 96, pp. 94-99.
[14] Nielsen, C. V. (2008). Carbon footprint of concrete buildings seen in the life cycle perspective. Concrete Technology Forum, Proceedings NRMCA 2008 June 2008, Denver, USA.
[15] Danso, H. (2018). Identification of Key Indicators for Sustaiable Construction Materials. Advances in Materials Science and Engineering, V2018, Article ID 6916258 https://doi.org/10.115/2018/6916258
[16] Pantawee, S., et al. (2017). Utilization of hemp concrete using hemp shiv as coarse aggregate with aluminium sulfate [Al2(SO4)3] and hydrated lime [Ca(OH)2] treatment. Construction and Building Materials, 156, pp. 435-442.
[17] Arrigoni, A., et al. (2017). Life cycle assessment of natural building materials: the role of carbonation, mixture components and transport in the environmental impacts of hempcrete blocks. Journal of Cleaner Production, 149, pp. 1051-1061.
[18] Florentin, Y., et al. (2017). A life-cycle energy and carbon analysis of hemp-lime bio- composite building materials. Energy and Buildings, 156, pp. 293-305.
[19] Dhakal, U., et al. (2017). Hygrothermal performance of hempcrete for Ontario (Canada) buildings. Journal of Cleaner Production, 142, pp. 3655-3664.
[20] Elfordy, S., et al. (2008). Mechanical and thermal properties of lime and hemp concrete (“hempcrete”) manufactured by a projection process. Construction and Building Materials, 22(10), pp. 2116-2123.
[21] Wahyuni, A. S., et al. (2014). The Performance of Concrete with Rice Husk Ash, Sea Shell Ash and Bamboo Fibre Addition. Procedia Engineering, 95, pp. 473-478.
[22] Pittau, F., et al. (2018). Fast-growing bio-based materials as an opportunity for storing carbon in exterior walls. Building and Environment, 129, pp. 117-129.
[23] Çomak, B., et al. (2018). Effects of hemp fibers on characteristics of cement based mortar. Construction and Building Materials, 169, pp. 794-799.
[24] Shahzad, A. (2013). A Study in Physical and Mechanical Properties of Hemp Fibres. Advances in Materials Science and Engineering, http://dx.doi.org/10.1155/2013/325085
[25] Ingrao, C. et al. (2015). Energy and environmental assessment of industrial hemp for building applications: A review. Renewable and Sustainable Energy Reviews, 51, pp. 29-42.
ดาวน์โหลด
เผยแพร่แล้ว
วิธีการอ้างอิง
ฉบับ
บท
การอนุญาต
บทความทั้งหมดที่ได้รับการคัดเลือกให้นำเสนอผลงานในการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25 นี้ เป็นลิขสิทธิ์ของ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์