การศึกษาการรับแรงแบกทานของดินโดยวิธีการกระจายน้ำหนักผ่านแผ่นเหล็กสี่เหลี่ยม

ผู้แต่ง

  • อัตพล บุบพิ สาขาวิชาครุศาสตร์อุตสาหกรรมโยธา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น
  • ยงยุทธ ศิริศรีเพ็ชร์
  • จงศิลป์ สุขุมจริยพงศ์
  • ณัฐพงษ์ เกษสัญชัย
  • วัชร พิศวิมล
  • เพชรานี อุ่นทะยา
  • กัญญารักษ์ มีอ่อน

คำสำคัญ:

กำลังรับน้้าหนักบรรทุกของดิน, เพลตแบริ่งเทส, จำแนกดิน

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดินผ่านแผ่นเหล็ก ในเขตพื้นที่การศึกษาโคกสี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการออกแบบฐานรากตื้นในการสร้างอาคารฝึกปฏิบัติงาน โดยทำการทดสอบหากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดินด้วยวิธีการทดสอบ Plate Bearing Test. ตามมาตรฐาน มทช. 105-2545

การทดสอบครั้งนี้ใช้แผ่นเหล็กสี่เหลี่ยม ขนาด 0.30x0.30 เมตร แผ่นเหล็กมีความหนา 0.025 เมตร และทดสอบที่ระดับความลึก -1.00 เมตร จากผิวดินเดิม จำนวน 3 หลุมทดสอบ โดยใช้น้ำหนักในการออกแบบที่ 10 ตัน/ตารางเมตร มีอัตราความปลอดภัยเท่ากับ 3 และมีการจำแนกประเภทดินด้วยระบบ Unified soil Classification เพื่อใช้เป็นข้อมูลการออกแบบฐานรากตื้น

ผลจากการศึกษาพบว่าค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดินทั้ง 3 หลุมการทดสอบพบว่า มีค่ารุดตัวเฉลี่ยของแผ่นเหล็กสี่เหลี่ยมเท่ากับ 3.633 มิลลิเมตร และมีค่าความสามารถรับน้ำหนักโดยปลอดภัยเท่ากับ 47.52 ตัน/ตารางเมตร เมื่อเทียบกับน้ำหนักที่ออกแบบสามารถนำไปออกแบบฐานรากตื้นได้อย่างปลอดภัย และจำแนกประเภทดินเป็นดิน SP-SC คือ ดินทรายคละตัวไม่ดีและมีดินเหนียวปนทราย

Downloads

Download data is not yet available.

เอกสารอ้างอิง

[1] Aarash Hosseini, 2014. “Effect of Confinement Pressure on Soil Behavioral Parameters,” Department of Civil Engineering, Arak Branch, Islamic Azad University, 8.2,: (January): 615-619.

[2] ASTM D 1194-94 American Society for Testing and Materials.

[3] D. A. M. Araújo , C. M. L. Costa and Y. D. J. Costa. 2017, “Dimension Effect on Plate Load Test Resulta,” Proceedings of the 2nd World Congress on Civil, Structural, and Environmental Engineering. 2,4: (April): 187-191.

[4] Manav Patel, Manas Bhoi ( 2019 ) Effect of Different Shape of Footing on its Load-Settlement Behaviour (Circular, Square and Rectangular) .Proceedings of the 4th World Congress on Civil, Structural, and Environmental Engineering (CSEE’19) Rome, Italy – April, 2019 Paper No. ICGRE 168 DOI: 10.11159/icgre19.168

[5] Nakul Dev, 2007. Bearing Capacity Determination using Plate Load Test - A Case Study [Online]. Researchgat. Available form : https://www.researchgate.net. (2019, Augest 28

[6] S. R. Pathak, S. N. Kamat and D. R. Phatak (2008)

[7] T.warmate1.-H.O Nwankworala, 2014. Determination of Elastic Modulus Using Plate Load Test In Calabar, South-Eastern Nigeria [Online]. Ideas. Available form : https://ideas.repec.org. (2019, Augest 28)

[8] Xiaohua Bao,Guanlin Ye, Bin Ye, Yanbin Fu and Dong Su, 2016. Co-seismic and post-seismic behavior of an existed shallow foundation and super structure system on a natural sand/silt layered ground [Online]. Researchgat. Available form : https://www.researchgate.net. (2019, Augest 28).

[9] สนิท พิพิธสมบัติ, 2552. วิศวกรรมฐานราก. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ครองช่าง พริ้นท์ติ้ง จ้ากัด

[10] สุขสันติ์ หอพิบูลสุข, 2552. วิศวกรรมฐานราก. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพมหานคร: บริษัท ส้านักพิมพ์ท้อป จ้ากัด

[11] บุญเทพ นาเนกรังสรรค์, 2539. Foundation Engineering and Tunneling.ชียงใหม่: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

[12] มานะ อภิพัฒนะมนตรี, 2545. วิศวกรรมปฐพีและฐานราก. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

[13] ธนานันต์ อารีย์พงษ์,ปิติ จันทรุไทย และสาราวุธจริตงาม, 2557. “การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์คุณสมบัติของดินบดอัดของดินส้าหรับงานถนน,”วารสารมหาวิทยาลัยราชภันครศรีธรรมราช. 33,2: (กรกฏาคม-ธันวาคม): 38-46.

[14] ณรงค์เดช อินทรัตน์ชัยกิจ, วิทวัส สิธิกูล และศรีศักดิ์ เย็นมะโนช, 2555. “การพัฒนาโปรแกรมไฟไนต์เอลิเมนต์ส้าหรับการออกแบบฐานรากตื้น,”วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย. 5,1: (มกราคม-มิถุนายน): 78-86

[15] สถาพร ด่อนแก้ว และเชิดชรินทร์ หมดมลทิน, 2556. การศึกษาการรับแรงแบกทานของดินผสมโฟมอากาศปรับปรุงด้วยซีเมนต์, วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมก่อสร้าง ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเล้าพระนครเหนือ.

[16] อดิศักดิ์ ศรีแสงรัตน์, 2547. การออกแบบระบบสมอเพื่อรับน้้าหนักบรรทุกในการทดสอบ Plate Load Test (กรณีศึกษาน้้าหนักบรรทุกไม่เกิน 8 ตัน/ตารางเมตร), ปริญญานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรม
บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาคครุศาสตร์โยธา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

[17] มาตรฐานงานฐานราก มทช.105-2545 ผนวก ก มาตรฐานการทดสอบความสามารถในการรับน้้าหนักบรรทุกของพื้นดิน

[18] ราชศักดิ์ สุวรรณนัจศิริ, ธีรวัฒน์ ศิลปะระเสริฐ และกิติเดช สันติชัยอนันต์, 2559. “การส้ารวจข้อมูลชั้นดินในมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงเพื่องานออกแบบฐานรากตื้น," การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ. ครั้งที่ 21, (28-30 มิถุนายน 2559): 18-27.

[19] สรวัสส์ บุญหยง และอดิศร งามหลาย, 2561. “การศึกษาและจัดท้าแผนที่ปฐพีกลศาสตร์ของชั้นดินในเขตอ้าเภอเมืองจังหวัดจันทบุรีเพื่อใช้ในการออกแบบฐานรากเบื้องต้น,” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ. ครั้งที่ 23. (18–20 กรกฎาคม 2561): 35-4

[20] ศิริชัย ห่วงจริง และอนุชิต อุชายภิชาติ, 2018. “พฤติกรรมของฐานรากแผ่จากการทดสอบแบบฐานรากจ้าลอง,” การประชุมวิชาการวิชาการและน้าเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ. ครั้งที่ 3. (25 เมษายน 2018)

[21] เสริมพันธ์ เอี่ยวจะบก, 2550. “เทคนิคการออกแบบและการแก้ไขปัญหางานฐานราก,” เอกสารประกอบการอบรมสัมมนา โปรแกรมวิชาเทคโนโลยีก่อสร้าง คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

[22] วิศวกรรมก่อสร้าง ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา และสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเล้าพระนครเหนือ.

[23] อดิศักดิ์ ศรีแสงรัตน์, 2547. การออกแบบระบบสมอเพื่อรับน้้าหนักบรรทุกในการทดสอบ Plate Load Test (กรณีศึกษาน้้าหนักบรรทุกไม่เกิน 8 ตัน/ตารางเมตร), ปริญญานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภาคครุศาสตร์โยธา บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

[24] มาตรฐานงานฐานราก มทช.105-2545 ผนวก ก มาตรฐานการทดสอบความสามารถในการรับน้้าหนักบรรทุกของพื้นดิน

[25] ราชศักดิ์ สุวรรณนัจศิริ, ธีรวัฒน์ ศิลปะระเสริฐ และกิติเดช สันติชัยอนันต์, 2559. “การส้ารวจข้อมูลชั้นดินในมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงเพื่องานออกแบบฐานรากตื้น," การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ. ครั้งที่ 21, (28-30 มิถุนายน 2559): 18-27.

[26] สรวัสส์ บุญหยง และอดิศร งามหลาย, 2561. “การศึกษาและจัดท้าแผนที่ปฐพีกลศาสตร์ของชั้นดินในเขตอ้าเภอเมืองจังหวัดจันทบุรีเพื่อใช้ในการออกแบบฐานรากเบื้องต้น,” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ. ครั้งที่ 23. (18–20 กรกฎาคม 2561): 35-4

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2020-07-09

วิธีการอ้างอิง