การประยุกต์ใช้วงเวียนระดับดินเพื่อปรับปรุงและแก้ไขปัญหาการจราจรบนทางหลวง กรณีศึกษา: ทางหลวงหมายเลข 34 แยกคลองอ้อม จ.ฉะเชิงเทรา, ทางหลวงหมายเลข 3 แยกหนองแฟบและแยกปตท. จ.ระยอง และ ทางหลวงหมายเลข 3 แยกเจ จ.ชลบุรี

ผู้แต่ง

  • เกศแก้วเงิน มหาคชเสนีย์ชัย บริษัท โชติจินดาคอนซัลแตนท์ จำกัด
  • โสภณ ชัยเลิศ วิศวกรจราจร ฝ่ายวิศวกรรมจราจรขนส่งและระบบราง บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ
  • ศิลาวรรณ จินดา วิศวกรงานทาง ฝ่ายออกแบบทางวิศวกรรม บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ
  • สมใจ เจริญยศ ผู้อำนวยการ ฝ่ายออกแบบทางวิศวกรรม บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ

คำสำคัญ:

การออกแบบทางแยกต่างระดับ, วงเวียนระดับดิน, การคัดเลือกรูปแบบทางแยกต่างระดับ

บทคัดย่อ

กรมทางหลวงได้ว่าจ้างวิศวกรที่ปรึกษา บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด เพื่อสำรวจ ออกแบบ ปรับปรุงและแก้ไขปัญหาการจราจรบนจุดตัดจำนวน 3 จุด ได้แก่ 1) จุดตัดทางหลวงหมายเลข 34 กับทางหลวงหมายเลข 314 บริเวณแยกคลองอ้อม จ.ฉะเชิงเทรา 2) จุดตัดระหว่างบริเวณแยกหนองแฟบและแยกปตท. บนทางหลวงหมายเลข 3 จ.ระยอง และ 3) จุดตัดทางหลวงหมายเลข 3 กับจุดเริ่มต้นทางหลวงหมายเลข 332 บริเวณแยกเจ จ.ชลบุรี โดยทางผู้เขียนได้เสนอวิธีแก้ไขปัญหาโดยออกแบบจุดตัดทั้ง 3 จุด เป็นรูปแบบทางแยกต่างระดับและวงเวียนระดับดิน และได้กำหนดปัจจัยในการคัดเลือกรูปแบบทางแยกจำนวน 3 ปัจจัย ได้แก่ 1.ปัจจัยด้านวิศวกรรมและจราจร 2.ปัจจัยด้านเศรษฐศาสตร์และการเงิน และ 3.ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม ซึ่งผลการคัดเลือกได้ข้อสรุปว่าทางแยกรูปแบบวงเวียนระดับดินของทั้ง 3 จุดเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด ทำให้ประสิทธิภาพในการเดินทางเพิ่มขึ้น

 

Downloads

Download data is not yet available.

ประวัติผู้แต่ง

โสภณ ชัยเลิศ, วิศวกรจราจร ฝ่ายวิศวกรรมจราจรขนส่งและระบบราง บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ

วิศวกรจราจร ฝ่ายวิศวกรรมจราจรขนส่งและระบบราง บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ

ศิลาวรรณ จินดา, วิศวกรงานทาง ฝ่ายออกแบบทางวิศวกรรม บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ

วิศวกรงานทาง ฝ่ายออกแบบทางวิศวกรรม บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ

สมใจ เจริญยศ, ผู้อำนวยการ ฝ่ายออกแบบทางวิศวกรรม บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ

ผู้อำนวยการ ฝ่ายออกแบบทางวิศวกรรม บริษัท โชติจินดา คอนซัลแตนท์ จำกัด จ.กรุงเทพฯ

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-09-19

วิธีการอ้างอิง

[1]
มหาคชเสนีย์ชัย เ., ชัยเลิศ โ., จินดา ศ., และ เจริญยศ ส., “การประยุกต์ใช้วงเวียนระดับดินเพื่อปรับปรุงและแก้ไขปัญหาการจราจรบนทางหลวง กรณีศึกษา: ทางหลวงหมายเลข 34 แยกคลองอ้อม จ.ฉะเชิงเทรา, ทางหลวงหมายเลข 3 แยกหนองแฟบและแยกปตท. จ.ระยอง และ ทางหลวงหมายเลข 3 แยกเจ จ.ชลบุรี”, ncce27, ปี 27, น. TRL41–1, ก.ย. 2022.

ฉบับ

บท

วิศวกรรมขนส่ง จราจรอัจฉริยะ และโลจิสติกส์