กราฟการออกแบบคานเหล็กโดยวิธีตัวคูณความต้านทานและน้ำหนักบรรทุก สำหรับหน้าตัดเหล็กในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ทักษกร พรบุญญานนท์ หลักสูตรวิศวกรรมโยธา วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย
  • ภัทรพงศ์ พรหมเพ็ญ
  • ธีรนาฏ เวียงอินทร์

คำสำคัญ:

กราฟการออกแบบคานเหล็ก, การออกแบบโดยวิธีตัวคูณต้านทานและน้ำหนักบรรทุก, การออกแบบคานเหล็กอย่างง่าย

บทคัดย่อ

การออกแบบคานเหล็กโดยทั่วไปแล้วจะมีขั้นตอนในการออกแบบหลายข้นัตอน ไม่ว่าจะเป็นการตรวจสอบประเภทของหน้าตัด การคำนวณกำลงัรับแรงดัดระบุของหน้าตัด ซึ่งขึ้นอยู่กับ การคราก การโก่งเดาะทางด้านข้างเนื่องจากแรงบิด รวมไปถึงการโก้งเฉพาะที่ของหน้าตัด โดยจะมีสูตรการคำนวณตามชนิดของหน้าตัด เพื่อที่จะช่วยลดขั้นตอน ระยะเวลา และความผิดพลาดจากการคำนวณที่อาจเกิดขึ้น งานวิจัยนี้จึงนำเสนอกราฟการออกแบบคานเหล็กโดยวิธีตัวคูณความต้านทานและน้ำหนักบรรทุก (LRFD) ตามมาตรฐานการออกแบบของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย สำหรับหน้าตัดเหล็กรูปตัว W, C และ HSS ที่นิยมใชและมีขายในประเทศไทยตามมาตรฐาน มอก. โดยในงานวิจัยนี้จะพัฒนากราฟสำหรับหน้าตัดเหล็กชนิดอัดแน่นเท่านั้น ผลจากการวจิัยจะได้กราฟความสมัพันธ์ระหว่างระยะความยาวค้ำยันและค่าโมเมนต์ดัดออกแบบของหน้าตัด

##plugins.generic.usageStats.downloads##

##plugins.generic.usageStats.noStats##

ดาวน์โหลด

เผยแพร่แล้ว

2022-09-19

วิธีการอ้างอิง

[1]
พรบุญญานนท์ ท., พรหมเพ็ญ ภ., และ เวียงอินทร์ ธ., “กราฟการออกแบบคานเหล็กโดยวิธีตัวคูณความต้านทานและน้ำหนักบรรทุก สำหรับหน้าตัดเหล็กในประเทศไทย”, ncce27, ปี 27, น. STR03–1, ก.ย. 2022.