TY - JOUR AU - รศ.ดร.สราวุธ จริตงาม AU - โอภาส สมใจนึก AU - พิษณุ ช่วยเวช PY - 2022/09/19 Y2 - 2024/03/29 TI - การใช้แอสฟัลต์คอนกรีตเก่าผสมกับหินคลุกและซีเมนต์ในงานก่อสร้างถนน JF - การประชุมวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 27 JA - ncce27 VL - 27 IS - 0 SE - วิศวกรรมโครงสร้างพื้นฐาน DO - UR - https://conference.thaince.org/index.php/ncce27/article/view/1711 AB - บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาคุณสมบัติและอัตราส่วนที่เหมาะสมของแอสฟัลต์คอนกรีตเก่าต่อซีเมนต์ที่มีผลต่อค่ากำลังรับแรงอัดแก นเดียว (UCS) เพื่อทดแทนหินคลุก โดยกำหนดสัดส่วนตัวอย่างทดสอบแอสฟัลต์คอนกรีตเก่าต่อหินคลุกในสัดส่วนผสมร้อยละ 10, 20, 30, 40, 50, 60 และ 70 ของน้ำหนักรวม มาทำการทดสอบเพื่อหาค่าของกำลังรับแรงอัดแกนเดียว (UCS) จากผลการทดสอบพบว่าค่ากำลังรับแรงอัดแกนเดียว (UCS) จะมีค่าลดลง เมื่อเพิ่มปริมาณของแอสฟัลต์คอนกรีตเก่า (RAP) และอัตราส่วนของ RAP ที่ร้อยละ 10 ของน้ำหนักรวมจะมีค่าของ UCS มากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับหิน คลุกสองตัวอย่างที่มีคุณสมบัติทางวิศวกรรมต่างกัน พบว่าค่า UCS ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของหินคลุก จากการศึกษาพบว่ามีความเป็นไปได้ในการนำแอสฟัลต์ คอนกรีตเก่ามาใช้เป็นวัสดุทางเลือกในการก่อสร้างหรือปรับปรุงถนนได้ ซึ่งเป็นประโยชน์ในแง่ของวิศวกรรมการทาง ซึ่งผ่านตามข้อกำหนดของกรมทาง หลวงที่ชั้นพื้นทางหินคลุกผสมปูนซีเมนต์ที่กำหนดให้ค่ากำลังรับแรงอัดแกนเดียวต้องไม่น้อยกว่า 24.50 ksc ที่ระยะเวลาการบ่ม 7 วัน ER -