@article{หมอกมุงเมือง_สุปินะ_แก้วโมราเจริญ_2022, title={การใช้เทคนิควิศวกรรมคุณค่าในการเลือกใช้ฐานรากแบบปรับปรุงแทนที่ฐานรากแผ่แบบดั้งเดิม สำหรับบ้านพักอาศัย 1 ชั้นในพื้นที่ชุมชน}, volume={27}, url={https://conference.thaince.org/index.php/ncce27/article/view/1433}, abstractNote={<p class="paragraph"><span lang="TH">ในการก่อสร้างบ้านพักอาศัยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการก่อสร้าง ขั้นตอนการก่อสร้าง หรือวัสดุที่นำใช้ เพื่อพัฒนาให้งานก่อสร้างบ้านพักอาศัยนั้นใช้ต้นทุนลดลง ใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างที่รวดเร็วมากขึ้น แต่ยังคงคุณภาพและคุณสมบัติทางวิศวกรรมเหมือนเดิม ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงได้ทำการเปรียบเทียการใช้ฐานรากแผ่แบบดั้งเดิมกับฐานรากที่ปรับปรุงโดยการใช้เสาเข็มเจาะโดยไม่มีฐานราก ในโครงการก่อสร้างบ้านพักอาศัย </span><span lang="EN-US">1 </span><span lang="TH">ชั้นซึ่งจะสามารถลดขั้นตอนการก่อสร้างได้ และยังสามารถทำงานในพื้นที่ชุมชนที่มีความแออัดและพื้นที่ในการทำงานน้อย เนื่องจากใช้เครื่องจักรที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ง่ายและไม่กระทบกับพื้นที่ชุมชน โดยงานวิจัยนี้เริ่มต้นจากการสำรวจข้อมูลที่จำเป็นในการออกแบบฐานรากของบ้าน จากนั้นจึงทำแบบสอบถามจากวิศวกรและผู้รับเหมาเพื่อหาปัจจัยที่สำคัญของการก่อสร้างฐานราก แล้วจึงนำข้อมูลที่ได้มานั้นมาวิเคราะห์ตามกระบวนวิเคราะห์วิศวกรรมคุณค่าทั้ง </span><span lang="EN-US">6 </span><span lang="TH">ขั้นตอน ซึ่งจากการเปรียบเทียบด้านราคาและระยะเวลาในการก่อสร้างสำหรับบ้านพักอาศัย </span><span lang="EN-US">1 </span><span lang="TH">ชั้น พบว่าการใช้ฐานรากแบบปรับปรุงมีต้นทุนการก่อสร้างน้อยกว่าและใช้เวลาในการก่อสร้างน้อยกว่าการก่อสร้างฐานรากแผ่</span></p&gt;}, journal={การประชุมวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 27}, author={หมอกมุงเมืองวีระพันธ์ and สุปินะเดชดำรงค์ and แก้วโมราเจริญมานพ}, year={2022}, month={ก.ย.}, pages={CEM26-1} }