@article{เมธีพลกุล_บุญญะฐี_2022, title={การพัฒนาอุปกรณ์สำรวจชั้นดินซึ่งทำงานด้วยการตรวจวัดคลื่นสั่นสะเทือนขนาดเล็ก}, volume={27}, url={https://conference.thaince.org/index.php/ncce27/article/view/1429}, abstractNote={<p class="Heading0new" style="text-align: justify; text-justify: inter-cluster; text-indent: 13.5pt;"><span lang="TH" style="font-size: 12.0pt; font-weight: normal;">การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์นั้นเป็นวิธีการหนึ่งที่ใช้ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ การสำรวจปิโตรเลียม การสำรวจแหล่งน้ำบาดาล การศึกษาทางด้านแผ่นดินไหว รวมถึงการสำรวจชั้นดินทางด้านวิศวกรรมธรณีเทคนิค ในงานวิจัยนี้ได้ทำการออกแบบและประดิษฐ์อุปกรณ์สำรวจชั้นดินจากการตรวจวัดคลื่นสั่นขนาดเล็ก (</span><span style="font-size: 12.0pt; font-weight: normal;">microtremor) <span lang="TH">บนผิวดิน อุปกรณ์ตรวจวัดประกอบด้วยวงจรแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอลแบบ 24 บิตซึ่งรับสัญญาณการสั่นสะเทือนจากจีโอโฟนแล้วส่งให้ระบบไมโครคอมพิวเตอร์ชื่อราสเบอร์รี่พาย (</span>Raspberry Pi) <span lang="TH">เพื่อเก็บข้อมูลและส่งต่อให้ระบบสมาร์ทโฟน ซึ่งจะทำหน้าที่ประมวลผลด้วยวิธีอัตสัมพันธ์เชิงระยะ (</span>SPAC) <span lang="TH">และโครงข่ายประสาทเทียม (</span>Neural Network) <span lang="TH">เพื่อแสดงภาพตัดความเร็วคลื่นเฉือน (</span>Shear wave velocity profile) <span lang="TH">และ คำนวณค่าเฉลี่ยความเร็วคลื่นเฉือน (</span>Average Shear wave velocity ) <span lang="TH">ของชั้นดิน จากการตรวจวัดภาคสนามในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเมื่อทำการตรวจวัดในรัศมีที่เหมาะสมพบว่าอุปกรณ์ที่พัฒนาขึ้นสามารถทำนายค่าเฉลี่ยความเร็วคลื่นเฉือนได้ใกล้เคียงกับความเร็วคลื่นเฉือนที่ประเมินจากวิธีดาวน์โฮล (</span>downhole) </span></p&gt;}, journal={การประชุมวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 27}, author={เมธีพลกุลชวกร and บุญญะฐีฐิรวัตร}, year={2022}, month={ก.ย.}, pages={GTE36-1} }