@article{ศรีทาโส_2021, title={การพัฒนาแบบจำลองการอพยพผู้โดยสารในสถานการณ์ฉุกเฉิน กรณีศึกษา สถานีรถไฟฟ้าใต้ดินจตุจักร }, volume={26}, url={https://conference.thaince.org/index.php/ncce26/article/view/747}, abstractNote={<p><strong>การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการอพยพในสถานการณ์ฉุกเฉินของสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินจตุจักรโดยใช้การสร้างแบบจำลองการอพยพเพื่อหาความเป็นไปได้ในการลดเวลาการอพยพของระบบในตัวสถานี ใช้โปรแกรมPTV VISWALKโดยทำการสอบเทียบกับข้อมูลของการซ้อมอพยพของทางสถานีรถไฟฟ้าใต้ดินจตุจักร จากหน่วยงานของรถไฟฟ้ามหานคร เพื่อมาทำการสอบเทียบกับโมเดลที่สร้างขึ้นมา 3 โมเดล โดยแต่ละโมเดลที่สร้างขึ้นนั้นได้ทำการแบ่งจำนวนคนเป็น2ฝั่งตามแบบข้อมูลการซ้อมอพยพโดยแบ่งจำนวนคนภายในสถานีเป็น 3 แบบเพื่อมาทำการสอบเทียบคือ 1.อัตราส่วนฝั่งละ 0.5 , 2.อัตราส่วนฝั่งละ 0.48 กับ 0.52 และ 3.อัตราส่วนฝั่งละ 0.45 และ 0.55 จากนั้นนำผลที่ได้จากแบบจำลองมาทำการสอบเทียบโดยใช้เกณฑ์จากการซ้อมอพยพเป็นเวลาการอพยพระยะสั้น(จากชาญชาลาจนถึงชั้นจำหน่ายตั๋ว)และระยะยาว(จากชาญชาลาจนถึงทางเท้า)โดยเท่ากับ 3.78 นาที และ 8.4 นาที โดยหาโมเดลที่มีค่าความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุดมาทำเป็นโมเดลต้นแบบในการสร้างแบบจำลองอื่น ๆเพื่อหาทางลดเวลาอพยพให้น้อยลงต่อไปในระบบขนส่งสาธารณะรถไฟฟ้าใต้ดินจตุจักร</strong></p> <p><em>คำสำคัญ<strong>:</strong> การอพยพ,แบบจำลอง, PTV VISWALK</em></p&gt;}, journal={การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 26}, author={ศรีทาโสภูวัต}, year={2021}, month={มิ.ย.}, pages={TRL-27} }