@article{บุบพิ_ศิริศรีเพ็ชร์_สุขุมจริยพงศ์_เกษสัญชัย_พิศวิมล_อุ่นทะยา_มีอ่อน_2020, title={การศึกษาการรับแรงแบกทานของดินโดยวิธีการกระจายน้ำหนักผ่านแผ่นเหล็กสี่เหลี่ยม}, volume={25}, url={https://conference.thaince.org/index.php/ncce25/article/view/627}, abstractNote={<p class="s18"><span class="s15">งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดินผ่านแผ่นเหล็ก ในเขตพื้นที่การศึกษาโคกสี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการออกแบบฐานรากตื้นในการสร้างอาคารฝึกปฏิบัติงาน โดยทำการทดสอบหากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดินด้วยวิธีการทดสอบ </span><span class="s15">Plate Bearing Test. </span><span class="s15">ตามมาตรฐาน </span><span class="s15">มทช. </span><span class="s15">105-2545</span></p> <p class="s18"><span class="s15">การทดสอบครั้งนี้ใช้แผ่นเหล็กสี่เหลี่ยม ขนาด </span><span class="s15">0.3</span><span class="s15">0</span><span class="s15">x0.3</span><span class="s15">0</span> <span class="s15">เมตร แผ่นเหล็กมีความหนา </span><span class="s15">0.025 </span><span class="s15">เมตร และทดสอบที่ระดับความลึก</span> <span class="s15">-</span><span class="s15">1.00 </span><span class="s15">เมตร จากผิวดินเดิม จำนวน </span><span class="s15">3 </span><span class="s15">หลุมทดสอบ</span><span class="s15"> โดยใช้น้ำหนักในการออกแบบที่ </span><span class="s15">10 </span><span class="s15">ตัน</span><span class="s15">/</span><span class="s15">ตารางเมตร มีอัตราความปลอดภัยเท่ากับ </span><span class="s15">3</span><span class="s15"> และมีการจำแนกประเภทดินด้วยระบบ </span><span class="s15">Unified soil Classification </span><span class="s15">เพื่อใช้เป็นข้อมูลการออกแบบฐานรากตื้น</span></p> <p class="s18"><span class="s15">ผลจากการศึกษาพบว่าค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกของดิน</span><span class="s15">ทั้ง </span><span class="s15">3 </span><span class="s15">หลุมการทดสอบพบว่า </span><span class="s15">มีค่ารุดตัวเฉลี่ยของแผ่นเหล็กสี่เหลี่ยมเท่ากับ </span><span class="s15">3.633</span> <span class="s15">มิลลิเมตร</span><span class="s15"> และมีค่าความสามารถรับน้ำหนักโดยปลอดภัยเท่ากับ </span><span class="s15">47.52</span><span class="s15"> ตัน</span><span class="s15">/</span><span class="s15">ตารางเมตร </span><span class="s15">เมื่อเทียบกับน้ำหนักที่ออกแบบสามารถนำไปออกแบบฐานรากตื้นได้</span><span class="s15">อย่างปลอดภัย</span><span class="s15"> และจำแนกประเภทดินเป็นดิน </span><span class="s15">SP-SC </span><span class="s15">คือ ดินทรายคละตัวไม่ดีและมีดินเหนียวปนทราย</span></p&gt;}, journal={การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25}, author={บุบพิอัตพล and ศิริศรีเพ็ชร์ยงยุทธ and สุขุมจริยพงศ์จงศิลป์ and เกษสัญชัยณัฐพงษ์ and พิศวิมลวัชร and อุ่นทะยาเพชรานี and มีอ่อนกัญญารักษ์}, year={2020}, month={ก.ค.}, pages={GTE39} }