@article{ภักดีเมฆ_เงินบำรุง_ศรลัมพ์_2020, title={การวิเคราะห์กำลังรับแรงเฉือนไม่ระบายน้ำของดินถมบ่อถูกปรับปรุงด้วยวิธี Vacuum Consolidation Method}, volume={25}, url={https://conference.thaince.org/index.php/ncce25/article/view/555}, abstractNote={<p><span class="s19">ในอดีตมียืมบ่อน้ำถูกทิ้งร้างซึ่งเต็มไปด้วยน้ำในกรุงเทพมหานครฯ ประเทศไทยเป็นจำนวนมาก ในปัจจุบันบ่อน้ำถูกถมกลับด้วยก้อนดินโดยไม่มีการสูบน้ำออก ก้อนดินที่นำมาใช้สำหรับถมกลับลงในบ่อยืมดินส่วนมากจะมีความชื้นในดินสูง และมีค่ากำลังรับแรงเฉือนไม่ระบายน้ำต่ำซึ่งเรียกว่าดินเหนียวอ่อนกรุงเทพ ดินเหนียวอ่อนที่ถูกถมกลับมีลักษณะเป็นก้อน ก้อนดินถมบ่อถูกถมลงในบ่อยืมดินอย่างรวดเร็ว เป็นผลทำให้น้ำไม่สามารถระบายออกได้ทันที และถูกขังอยู่ระหว่างช่องว่างของก้อนดินถมบ่อ กำลังรับแรงเฉือนไม่ระบายน้ำของดินถมบ่อมีค่าต่ำตลอดทั้งความลึกเกิดจากการถมกลับใหม่ การวิเคราะห์ค่ากำลังรับแรงเฉือนไม่ระบายน้ำสามารถแบ่งออกเป็นสองส่วนได้แก่ ประการที่หนึ่งการเพิ่มขึ้นของกำลังรับแรงเฉือนไม่ระบายน้ำหลังจากปรับปรุงคุณภาพด้วยวิธีสุญญากาศ (</span><span class="s19">Vacuum Consolidation Method) </span><span class="s19">ซึ่งถูกวิเคราะห์จากการทดสอบในสนามด้วยวิธี </span><span class="s19">Cone Penetration Test </span><span class="s19">การทดสอบจากห้องปฏิบัติการด้วยวิธีการทดสอบแรงอัดแบบไม่จำกัด และทฤษฎีของ </span><span class="s19">Mesri</span><span class="s19"> and Khan (</span><span class="s19">2011) ประการที่สอง ปัจจัยที่มีผลต่อการเพิ่มขึ้นของกำลังรับแรงเฉือนไม่ระบายน้ำ เช่น สิ่งแวดล้อมรอบข้าง การทำถนนเพื่อถมดินกลับ คุณสมบัติของดิน และการลดลงของแรงดันน้ำในชั้นทรายเนื่องจากการสูบน้ำบาดาล</span></p&gt;}, journal={การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25}, author={ภักดีเมฆศาสตร์ศิลป์ and เงินบำรุงปิยวัฒน์ and ศรลัมพ์สุทธิศักดิ์}, year={2020}, month={ก.ค.}, pages={GTE35} }