@article{แป้นจุลสี_ไชยสกุลเกียรติ_2020, title={การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอาคารกับโครงการก่อสร้างจริง กรณีศึกษา โครงการ บูสท์ ฟิตเนส ยิม}, volume={25}, url={https://conference.thaince.org/index.php/ncce25/article/view/323}, abstractNote={<p class="Heading0new" style="text-align: justify; text-justify: inter-cluster;"><span lang="TH" style="font-size: 12.0pt; font-weight: normal;">ปัจจุบันการประมูลงานก่อสร้างมีการแข่งขันที่สูง ถูกบีบด้วยราคาประมูลและระยะเวลาในการถอดปริมาณงาน ความรวดเร็วและความแม่นยำในการถอดปริมาณงานเป็นสิ่งจำเป็นของบริษัทรับเหมาก่อสร้างทุกแห่ง บทความฉบับนี้มีจุดประสงค์หลัก เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของแบบจำลองเทคโนโลยีสารสนเทศอาคาร </span><span style="font-size: 12.0pt; font-weight: normal;">(Building Information Modeling : BIM) <span lang="TH">ในการเข้ามาประยุกต์หรือแทนที่แผนกสำรวจปริมาณงาน (</span>Quantity Surveyor) <span lang="TH">โดยเป็นกระบวนการสร้างแบบจำลองอาคาร ในระบบ 3 มิติ และสามารถถอดข้อมูลปริมาณงานก่อสร้างที่เกิดขึ้นในโครงการก่อสร้างได้ ใช้ในการประมาณราคาต้นทุนค่าก่อสร้างในบัญชีแสดงปริมาณวัสดุและราคา </span>( Bill Of Quantities : BOQ) <span lang="TH">ที่ใช้ในการแข่งขันการประกวดราคาค่าก่อสร้าง ในการวิเคราะห์ผลมีการแบ่งชุดข้อมูลออกเป็น 3 ส่วน ส่วนแรกปริมาณงานที่ได้จากแบบจำลองเทคโนโลยีสารสนเทศอาคาร ส่วนที่สองปริมาณงานที่ได้จากบุคคลากรในแผนกสำรวจปริมาณงาน ส่วนที่สามปริมาณงานที่ได้จากการเก็บข้อมูลการก่อสร้างที่เกิดขึ้น ผลการวิจัยที่จะทำการนำเสนอ ได้แก่ ผลการเทียบปริมาณงานโครงสร้าง ผลการเทียบระยะเวลาในการดำเนินการถอดปริมาณงาน และ ผลการเทียบจำนวนบุคคลากรในการถอดปริมาณงาน พร้อมทั้งนำผลวิเคราะห์ให้ทางบริษัทที่สนใจได้พิจารณาการจัดซื้อซอฟต์แวร์แบบจำลองเทคโนโลยีสารสนเทศอาคารต่อไป</span></span></p> <p>&nbsp;</p&gt;}, journal={การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25}, author={แป้นจุลสีวิภาวี and ไชยสกุลเกียรติอุดมวิทย์}, year={2020}, month={ก.ค.}, pages={CEM17} }