@article{ปรีชาศิลป์_วรรธนะภูติ_โชติสังกาศ_2020, title={อิทธิพลของการเสื่อมสภาพต่อกำลังรับแรงเฉือนของหินทรายแป้งและเสถียรภาพเชิงลาด}, volume={25}, url={https://conference.thaince.org/index.php/ncce25/article/view/210}, abstractNote={<p><span class="s17">บทความนี้ได้นำเสนอพฤติกรรมการเสื่อมสภาพของหินทรายแป้งที่เกิดขึ้นระหว่างการขุด</span><span class="s17">-</span><span class="s17">ถม และส่งผลต่อเสถียรภาพเชิงลาดของกองดินถม โดยหินตัวอย่างที่ศึกษาได้เก็บจาก โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง สภาพแวดล้อม</span><span class="s17">และภูมิอากาศ</span><span class="s17"> สามารถส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของหินทรายแป้ง ซึ่งสามารถจำลองในห้องปฏิบัติการด้วยกระบวนการ</span><span class="s17">เ</span><span class="s17">ปียกสลับแห้ง และการเปลี่ยนแปลงหน่วยแรงกด ความคงสภาพและเสื่อมสภาพของหินทรายแป้ง สามารถวิเคราะห์ได้จากผลการทดสอบ </span><span class="s17">Slaking Test, Crumb</span><span class="s17"> Test</span><span class="s17"> และ </span><span class="s17">Grain Size Distribution Analysis &nbsp;</span><span class="s17">ด้วยอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมทำให้ค่ากำลังรับแรงเฉือนของวัสดุมีการเปลี่ยนแปลง และสังเกตได้จากผลการทดสอบ </span><span class="s17">Direct Shear Test </span><span class="s17">และ </span><span class="s17">Unconfined Compressive Strength Test </span><span class="s17">กำลังรับแรงเฉือนของหินทรายแป้งทั้งแบบระบายน้ำและไม่ระบายน้ำ</span><span class="s17">ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงจากการเสื่อมสภาพ</span><span class="s17"> ได้ถูกนำมา</span><span class="s17">ใช้</span><span class="s17">จำลอง</span><span class="s17">ในการวิเคราะห์</span><span class="s17">เสถียรภาพเชิงลาด</span><span class="s17"> เพื่อประเมินค่าความปลอดภัยในสภาวะต่างๆ ซึ่งพบว่า</span><span class="s17">ปัจจัย</span><span class="s17">สำคัญที่ส่งผลต่อค่าอัตราส่วนความปลอดภัย คือ</span><span class="s17"> การเปลี่ยนแปลงสถานะของวัสดุจาก </span><span class="s17">Soft Rock </span><span class="s17">เป็น </span><span class="s17">Hard Soil </span><span class="s17">ซี่งมีผลต่อการระบายน้ำและ</span><span class="s17">แรงดันน้ำส่วนเกิน</span><span class="s17">เมื่อถูกแรงเฉือน</span><span class="s17"> ซึ่งขึ้นกับ</span><span class="s17">อัตราการเสื่อมสภาพ</span><span class="s17">ของวัสดุ</span> <span class="s17">โดยการ</span><span class="s17">พิบัติของเชิงลาด</span><span class="s17">มีโอกาส</span><span class="s17">เกิดขึ้นสูง </span><span class="s17">(F.S. &lt; 1.3) </span><span class="s17">เมื่อ </span><span class="s17">r</span><span class="s20">u</span><span class="s17"> &gt; 0.53</span> <span class="s17">และ </span><span class="s17">s</span><span class="s20">u</span> <span class="s21">≤</span> <span class="s17">460</span><span class="s17"> kPa.</span></p&gt;}, journal={การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25}, author={ปรีชาศิลป์นวัต and วรรธนะภูติบารเมศ and โชติสังกาศอภินิติ}, year={2020}, month={ก.ค.}, pages={GTE16} }