@article{บัวแสงจันทร์_นนทวงศ์_สุขเอี่ยม_ก้องกิจกุล_2020, title={ลักษณะการไหลซึมผ่านของน้ำแบบสองมิติในดินและตาข่ายการไหล จากการทดสอบด้วยแบบจำลองกายภาพ}, volume={25}, url={https://conference.thaince.org/index.php/ncce25/article/view/109}, abstractNote={<p><span class="s17">งานวิจัยนี้ได้พัฒนาแบบจำลองกายภาพย่อส่วนโครงสร้างดินขึ้น </span><span class="s17">2 </span><span class="s17">แบบ ได้แก่ </span><span class="s17">1. </span><span class="s17">งานขุดที่ป้องกันด้วยเข็มพืด และ </span><span class="s17">2. </span><span class="s17">คันดินกั้นน้ำ</span> <span class="s17">เพื่อการศึกษาการซึมผ่านของน้ำแบบสองมิติและพัฒนาตาข่ายการไหล โดยจำลองการซึมผ่านของน้ำในดินภายใต้สภาวะคงตัว ในการทดสอบได้ทำการกำหนดค่าระดับน้ำด้านท้ายน้ำให้คงที่แต่ทำการแปรผันค่าระดับน้ำด้านเหนือน้ำให้แตกต่างกัน เพื่อให้มีอัตราการไหลและแรงดันน้ำแตกต่างกัน การทดสอบใช้ชุดท่อปลายเปิดเพื่ออ่านค่าแรงดันน้ำที่ตำแหน่งต่าง ๆ ในดิน ซึ่งข้อมูลที่ได้ถูกนำมาสร้างแผนภาพแสดงเส้นสมศักย์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นอกจากนี้ ยังได้ใช้สารย้อมสีเพื่อหาเส้นการไหลของน้ำในดินแล้วจึงได้พัฒนาตาข่ายการไหลจากเส้นสมศักย์ที่ได้จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์และเส้นการไหลที่ได้จากการทดสอบ จากการคำนวณอัตราการไหลจากตาข่ายการไหลที่ได้จากการทดสอบ และนำผลลัพธ์ที่ได้ไปเปรียบเทียบกับผลการวิเคราะห์การไหลแบบสองมิติด้วยโปรแกรม </span><span class="s17">SEEP/W </span><span class="s17">พบว่า มีความใกล้เคียงกันทั้ง </span><span class="s17">1. </span><span class="s17">เส้นสมศักย์ </span><span class="s17">2. </span><span class="s17">เส้นการไหล</span> <span class="s17">3. </span><span class="s17">ตาข่ายการไหล และ </span><span class="s17">4. </span><span class="s17">อัตราการไหลของน้ำ ดังนั้นแบบจำลองย่อส่วนและผลจากงานวิจัยนี้สามารถนำไปใช้เป็นสื่อการสอนสำหรับนักศึกษาได้เป็นอย่างดีต่อไป</span></p&gt;}, journal={การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25}, author={บัวแสงจันทร์วรกมล and นนทวงศ์ฐิติยารัตน์ and สุขเอี่ยมธนพล and ก้องกิจกุลวรัช}, year={2020}, month={ก.ค.}, pages={GTE04} }